ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนบางน้ำผึ้ง
คำสำคัญ:
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการ; แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ; ชุมชนบางน้ำผึ้งบทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนบางน้ำผึ้ง” วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จย่อมไม่พ้น 4 M คือ คน (man) เงิน (money) วัสดุอุปกรณ์ (materials) และการจัดการ (management) ซึ่งปัจจัยที่สำคัญที่สุดคือ คน ซึ่งหมายรวมทั้งผู้นำและผู้ตาม เพราะทรัพยากรและงบประมาณที่มีจำนวนมาก แต่ขาดคนที่จะมาบริหารจัดการ และขาดคนที่จะนำทรัพยากรมาสร้างมูลค่าเพิ่มได้ จากผลงานวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนบางน้ำผึ้งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม จะพบว่าคนมีบทบาทสำคัญอย่างมาก ในระดับผู้นำเป็นผู้นำที่มีวิสัยทัศน์และมีคุณลักษณะเป็นผู้นำแบบประชาธิปไตย สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในทุกระดับและร่วมในการบริหารจัดการในทุกขั้นตอนกระทั่งประสบความสำเร็จ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยสมบูรณ์ ทำให้สมาชิกชุมชนเกิดรายได้เสริม สร้างความรัก ความสามัคคี และความภาคภูมิใจ จึงทำให้เกิดการพัฒนาควบคู่การอนุรักษ์ทรัพยากรและวัฒนธรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง
Downloads
References
กันยาวรรนธ์ กำเนิดสินธุ์. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนบางน้ำผึ้งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม. วารสารสารสนเทศ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560, (175- 184).
_______. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนบางน้ำผึ้งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม. สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
โกวิทย์ พวงงาม. (2545). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2550. การอนุรักษ์ฟื้นฟูลุ่มน้ำปิงสำหรับเยาวชน. เชียงใหม่: คลองช่าง.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560. [ออนไลน์]. http://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114. [สืบค้นเมื่อ 12พฤศจิกายน 2560].
กองอนุรักษก์ารท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2545). โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. เอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ : กองอนุรักษก์ารท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ข้อมูลสำนักบริหารงานทะเบียนท้องถิ่น. อำเภอพระประแดง ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2557.
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำผึ้ง. (2558). สัมภาษณ์การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบางน้ำผึ้ง. อำเภอพระประแดง : สมุทรปราการ.
ผู้ใหญ่บ้านชุมชนบางน้ำผึ้ง. (2558). สัมภาษณ์การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบางน้ำผึ้ง. อำเภอพระประแดง : สมุทรปราการ.
ผู้จัดการตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง. (2558). สัมภาษณ์การบริหารจัดการตลาดน้ำขององค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำผึ้ง. อำเภอพระประแดง : สมุทรปราการ.
แผนพัฒนาสามปี อบต.บางน้ำผึ้ง. (2558-2560). องค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ.
พจนา สวนศรี. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการนันทนาการและการท่องเที่ยวธรรมชาติ หน่วยที่ 8 - 15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2561). การท่องเที่ยวโดยชุมชน, CBT. [ออนไลน์] http://www.cbt- i. or.th/index.php?ge. [12 มกราคม 2561].
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12.[ออนไลน์]www.ldd.go.th/files/FileFolders/Documents. [สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2558].
สัมภาษณ์. (2558). ผู้จัดการตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง.
Cohen J. M. & Uphof, N. T. (1980). Participation’s Place in Rural Development, Seeking Clarity Through Specificity. World Development.
Dowling, (1995). อ้างถึงใน ดรุณี แก้วม่วง, (2552). All tourism should be Sustainable Tourism. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว