การพัฒนารูปแบบฐานข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนกับเรื่องเล่าขานสู่ตำนาน สถานที่ท่องเที่ยวในอันดามันจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ

ผู้แต่ง

  • ขจร ทุ่มศรี
  • สุนันทา คันธานนท์

คำสำคัญ:

การพัฒนา; เรื่องเล่าขานสู่ตำนาน; สถานที่ท่องเที่ยวในอันดามัน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาบริบทสถานที่ท่องเที่ยว เรื่องเล่า ตำนานฯ ในอันดามัน 2) เพื่อสร้างฐานข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวในอันดามัน ที่เป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และ 3) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบฐานข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนกับเรื่องเล่าขานสู่ตำนานสถานที่ท่องเที่ยวในอันดามันจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ นักวิจัยได้นำ ข้อมูล มาจัดทำฐานข้อมูลฉบับดิจิทัล และฉบับเอกสารพัฒนาฐานข้อมูลผ่านลิงค์ http://gg.gg/p2pwp และหลังจากนั้นได้มีการอบรมผ่านลิงค์ จำนวน 92 คน โดยทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 20 ข้อ และแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 20 ข้อ คะแนนผลการเรียนรู้ก่อนเรียนจากการทำแบบทดสอบมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.93 คะแนนสอบผลการเรียนรู้หลังเรียนจากการทำแบบทดสอบมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.17 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.53 และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และมีความพึงพอใจต่อฐานข้อมูลฯ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก  ( =4.33) ซึ่งส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.66) รองลงมาคือ ด้านผู้เรียนหรือผู้ใช้บริการฐานข้อมูล อยู่ในระดับมาก ( =4.33) และ ด้านสังคมอยู่ในระดับมาก ( =4.33) ตามลำดับ

Downloads

Download data is not yet available.

References

กมล รัตนวิระกุล. (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน. สืบค้น 1 มกราคม 2563, จากhttp://www.thma. or.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=538822343.

กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). คู่มือกระบวนการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดระนอง. สืบค้น 6 ตุลาคม 2562, จาก http://www.ranong.go.th/wpmqa/pdf/travel.doc.

โกสินทร์ ชำนาญพล และสุดใจ โล่ห์วนิชชัย. (2562). การพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการ. วารสารราชพฤกษ์. 17(2), 130 – 138.

โชคชัย สุเวชวัฒนกูล. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(1) 1-15.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 13(2), 25-46.

ธัฒฌา ธนัญชัย. (2561). การแปล. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.

ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และ สุภาพ ฉัตราภรณ์. (2553). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พรชนก ทองลาด และไพฑูรย์ อินต๊ะขัน และ บัณฑิต บุษบา. (2559). แนวทางการพัฒนาธุรกิจให้มีความยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดลำปาง ลำพูน และ เชียงใหม่. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1), 74-87.

พรหมภัสสร ชุณหบุญญทิพย์. (2560). การท่องเที่ยวชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพื้นที่ชุ่มน้ำหนองไชยวาน บ้านดอนแดง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวนานาชาติ. 13(2), 47-61.

ภัทรษมน รัตนางกูร. (2562). การพัฒนาเศรษฐกิจ. สืบค้น 8 มกราคม 2562. จากhttp://phatrasamon. blogspot. com/2009/11/blog-post_26.html.

วชิรวัชร งามละม่อม. (2559). แนวคิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาในชุมชน. สืบค้น 21 ธันวาคม 2562, จาก http://file.siam2web.com/trdm/article/2013318_75567.pdf.

วุฒิชาติ สุนทรสมัย และปิยะพร ธรรมชาติ. (2559). รูปแบบการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสุขภาพของจังหวัดปราจีนบุรี เพื่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(3), 167-181.

ศรัฐ สิมศิริ, มานะ เอี่ยมบัว, ชนินทร์ กุลเศรษฐัญชลี, สธนวัชร์ ประกอบผล, วรรณิกา เกิดบาง, นรินทร สรวิทย์ศิรกุล และ รตนนภดล สมิตินันทน์. (2560). ปัจจัยด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ กรณีศึกษา: เขื่อนรัชประภา อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฏร์ธานี. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12 (1) (มกราคม – เมษายน), 137-147.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. (2560). การท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดอันดามัน. สืบค้น 14 มกราคม 2563, จาก: http://www.osmsouth-w.moi.go.th/file-data/410105.pdf

สินธุ์ สโรบล. (2559). การท่องเที่ยวโดยชุมชน. สืบค้น 14 มกราคม 2563, จาก http://clm.up.ac.th/ BibDetail.aspx?bibno=188409

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2560). ครูยุคใหม่กับการจัดการเรียนรู้สู่การศึกษา 4.0. กรุงเทพฯ: 9911 เทคนิค พริ้นติ้ง.

สุดถนอม ตันเจริญ, 2560. การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบางขันแตก จังหวัดสมุทรสงคราม. สืบค้น 19 พฤษภาคม 2562, จาก https://tci-thaijo.org/index.php/jitt/article/view/113052

เผยแพร่แล้ว

2022-02-02