บทบาทของภาคประชาสังคมกับการพัฒนาทางการเมือง
คำสำคัญ:
ภาคประชาสังคม, การพัฒนาทางการเมืองบทคัดย่อ
การเมืองภาคประชาสังคมนับว่ามีพลังและคุณค่าต่อการพัฒนาทางการเมืองที่คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพของบุคคล กลุ่มคนเพราะไปเปิดพื้นที่ให้กลุ่มคน บุคคลได้มีโอกาสในสังคมการเมืองหรือในขณะที่ระบบการเมืองแบบตัวแทนกำลังมีปัญหาของระบบเกิดปัญหาเชิงโครงสร้างและกลไก กระบวนการดำเนินงานของระบบตัวแทนให้ชะงักในการตอบสนองสมาชิกในสังคมการเมืองนั้นคือ ประสิทธิภาพและความชอบธรรมของระบบการเมืองแบบตัวแทนกำลังมีข้อจำกัดทำให้มีการกล่าวขานถึง การเมืองแบบใหม่ที่ต้องการเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศโดยไม่หวังผลตอบแทนแต่ต้องการพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็นต่อการกำหนดนโยบาย สร้างความร่วมมือกันระหว่างรัฐกับองค์กรประชาสังคม ซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบใหม่ของการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมในยุคโลกาภิวัตน์
Downloads
References
ชาติชาย ณ เชียงใหม่. (2543). การบริหารการพัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. เซ็นจูรี.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2548). แนวคิดว่าด้วยความเป็นพลเมือง. นนทบุรี: คลังวิชา.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2551). ก่อนภาคประชาชนล่มสลาย. เวย์อ๊อฟบุ๊ค.
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2552). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). วิภาษา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว