ภัยคุกคามกับการจัดการด้านความมั่นคงพื้นที่ชายแดนในยุคดิสรัปชัน
คำสำคัญ:
ภัยคุกคาม, การจัดการความมั่นคง, พื้นที่ชายแดน, ดิสรัปชั่นบทคัดย่อ
จากการวิเคราะห์พบว่าปัจจุบันปัญหาความมั่นคงชายแดนเป็นเรื่องที่มีความเชื่อมโยงกับ 6 ปัญหาสำคัญ ได้แก่ การสู้รบตามแนวชายแดนและความไม่ชัดเจนจากเส้นเขตแดน การลักลอบหลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ยาเสพติด การค้าอาวุธสงคราม การค้ามนุษย์ และทรัพยากรธรรมชาติและสาธารณภัยขนาดใหญ่ อีกประการหนึ่งภัยคุกคามที่มาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันที่นำมาซึ่งภัยแทรกซ้อนในรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบในทุกระดับการแก้ไขปัญหาดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากภายในและภายนอกประเทศเป็นสำคัญโดยร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ นับวันยิ่งจะมีความซับซ้อนและครอบคลุมในทุกมิติทางสังคม ทั้งด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ความมั่นคง สิทธิมนุษยชน และสิ่งแวดล้อมอันเป็นผลมาจากการพัฒนา การติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่เรียกว่า “ดิสรัปชัน” ด้วยบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรทบทวนนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนให้ครอบคลุมและมีแนวโน้มประสบความสำเร็จในอนาคต ดังนั้นการสร้างความร่วมมือจึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาล และองค์กรระดับประเทศควรให้ความสำคัญและแสดงบทบาทในการขยายความร่วมมือเพื่อธำรงรักษาไวซึ่งอธิปไตยและผลประโยชน์แห่งชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามหลักความมั่นคงภายในประเทศและต่างประเทศ
Downloads
References
ชูวงศ์ อุบาลี, วงธรรม สรณะ, เอื้อมพร รุ่งศิริ และณัชชา เมืองสง. (2559). การบริหารจัดการปัญหาพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพื้นที่ชายแดนจังหวัดจันทบุรี. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 14(1), 28-29.
ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร. (2557). การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนของกองทัพไทยภายใต้กระบวนทัศน์ความมั่นคงใหม่ ในบริบทประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา]. คลังสารสนเทศดิจิทัล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://digital.library.tu.ac.th/
บรรจง อมรชีวิน และหทัยชนก ศิริวัฒนกุล. (2558). ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของประเทศไทยบนเส้นทางการบูรณาการระดับภูมิภาค. วารสารวิทยุสราญรมย์, 15(58), 160-173.
รุ่งโรจน์ กิตติถาวรกุล. (2566). รู้ เข้าใจและตระหนัก “อาชญากรรมทางไซเบอร์” (Cybercrime) ป้องกันภัยคุกคามใกล้ตัว. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฤทธี อินทราวุธ. (2558). การเตรียมความพร้อมรับมือภัยคุกคามด้านไซเบอร์. ศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก (Army Cyber Center).
วชิรวัชร งามละม่อม. (2559). ประเทศไทยกับแนวทางการพัฒนาในประชาคมอาเซียน. การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 593-601.
วชิรวัชร งามละม่อม. (2561). ประเทศไทยกับการบริหารจัดการลุ่มน้ำโขงว่าด้วยแผนพัฒนาการเดินเรือระหว่างประเทศในแม่น้ำล้านช้าง-แม่โขง พ.ศ. 2558-2568. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ สรรพศาสตร์ สรรพศิลป์ ประจำปี 2561 วันที่ 28 มิถุนายน 2561 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 372-392.
วชิรวัชร งามละม่อม. (2562). กระแสโลกาภิวัตน์กับการปรับตัวของประเทศไทย. วารสารการจัดการและการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(1), 61-83.
วชิรวัชร งามละม่อม. (2565). การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐในยุคดิสรัปชัน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 42(1), 132-153.
วชิรวัชร งามละม่อม และภิศักดิ์ กัลป์ยาณมิตร. (2561). ความท้าทายของประเทศไทยในประชาคมอาเซียนกับการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 10(1), 407-431.
วิทยา สุจริตธนารักษ์. (2557). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคสงครามเย็น. จุลสารความมั่นคงศึกษา, 6, 141-142.
วิทิต ศรีสุข. (2557). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับการแข่งขันสะสมอาวุธครั้งใหม่. จุลสารความมั่นคงศึกษา, 6, 141-142.
ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. (2563). แผนปฏิบัติการการปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติของคนรุ่นใหม่ต่อยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2563 - 2570). ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570). สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.2558-2564. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2561). แผนขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการชายแดน
ด้านความมั่นคง (พ.ศ.2561-2564). สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ. (2562). กำเนิดอาเซียน. สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ.
สำนักเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Brown, A., & Garcia, M. (2021). Economic Strategies for Enhancing Border Security in the Digital Era. International Journal of Border Economics, 7(1), 32-45.
Brown, A., & Garcia, M. (2022). Enhancing Cross-Border Cooperation for Border Security in the Digital Age. Journal of Cross-Border Studies, 12(1), 102-115.
Dru, J. (1996). Disruption: Overturning Conventions and Shaking the Marketplace. John Wiley & Sons.
Garcia, E., & Kim, S. (2019). Border Security and Climate Change: Building Resilience in the Face of Uncertainty. Climate Security Journal, 6(3), 88-102.
Garcia, L., & Smith, C. (2021). International Cooperation in Cyber Security: Strategies for Border Security Enhancement. Cyber Security Review, 8(1), 102-115.
Johnson, M., & Martinez, L. (2021). Social Media Threats to Border Security: Challenges and Solutions. Journal of Border Security Studies, 9(1), 112-125.
Jones, R., & Lee, S. (2019). The Economic Impacts of Border Insecurity: A Case Study of X Border Region. Economic Security Journal, 15(3), 102-115.
Lee, H., & Nguyen, K. (2020). Enhancing Cyber Security in Border Regions: Best Practices and Policy Recommendations. International Journal of Cyber Security, 9(3), 45-57.
Martinez, C., & Rodriguez, A. (2018). Climate Change and Border Security: Challenges and Opportunities. Border Security Review, 5(2), 78-91.
Nguyen, H., & Lee, J. (2019). Managing Social Media Risks to Border Security: Best Practices and Policy Recommendations. International Journal of Border Security, 8(3), 45-57.
Nguyen, T., & Smith, D. (2020). Enhancing Border Resilience to Climate Change: Strategies and Best Practices. Journal of Climate and Security, 12(4), 156-170.
Nguyen, T., & Smith, D. (2021). Enhancing Border Security in the Digital Era: Challenges and Strategies. International Journal of Border Security, 8(2), 78-92.
Sir David Attenborough. (2018). Sir David Attenborough: We Must Act on Population. Population Matters.
Smith, J., & Garcia, M. (2022). Border Security in the Digital Age: Challenges and Opportunities. Journal of Border Security Studies, 10(1), 45-67.
Smith, J., & Johnson, K. (2020). Economic Threats to Border Security in the Digital Age. Journal of Border Security Studies, 8(2), 45-57.
Smith, R., & Garcia, T. (2020). Enhancing Political Resilience to Social Media Threats in Border Regions. Political Security Review, 7(2), 78-91.
Wang, Y., & Kim, J. (2019). Cyber Threats to Border Security: Challenges and Responses. Journal of Border Security Studies, 6(2), 88-101.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว