VUCA สู่ BANI : ความท้าทายของการจัดการศึกษาปฐมวัย
คำสำคัญ:
การศึกษาปฐมวัย, ความท้าทาย, บานี่เวิลด์, ยุคพลิกพลัน, วูก้าเวิลด์บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะเตรียมความพร้อมกับความท้าทายจากสภาพการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงที่ฉับพลันทางดิจิทัล (Digital Disruption) หลังการเกิดการแพร่ระบาด Covid19 ทำให้วงการศึกษาทั่วโลกตระหนักถึงการเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่ผันผวน และไม่อาจคาดเดาได้ การจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์จึงจำเป็นที่จะเตรียมความพร้อมให้เด็กได้มีพัฒนาการโดยเฉพาะพัฒนาการ ความรู้ ทักษะและสมรรถนะต่าง ๆ และให้เข้าใจต่อปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นจะทำให้พวกเขายืนหยัด ตั้งรับและรับมือกับโลกที่พลิกผันแบบ VUCA World และเปลี่ยนผ่านมาสู่ยุคที่แสนจะเปราะบาง และยากเกินความเข้าใจในยุค BANI World เนื้อหาในบทความนี้จะกล่าวถึงความท้าทายของการจัดการศึกษาปฐมวัยในมิติของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ที่จะต้องปรับกระบวนทัศน์ต่าง ๆ ให้การศึกษาปฐมวัย ผลลัพธ์คือการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้พร้อมรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในโลกปัจจุบันสู่โลกอนาคต ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน รวดเร็ว ซับซ้อน เปราะบาง ไม่แน่นอน ในยุค BANI World อีกด้วย
Downloads
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ:สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กันตวรรณ มีสมสาร และกัญจนา ศิลปะกิจยาน. (2561). การพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุค 4.0 EARLY CHILDHOOD DEVELOPMENT IN THE 4.0’S. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1), 171-178.
จิราเจต วิเศษดอนหวาย. (2566, 25 ธันวาคม). ลาก่อน VUCA มาแล้ว BANI : ชวนผอปรับตัวและโรงเรียนให้ทันการเปลี่ยนแปลง. https://www.educathai.com/knowledge/articles
เจริญ ภูวิจิตร์. (2565,27 สิงหาคม). ภาวะผู้นำทางการศึกษาโลกยุคผันผวน. http://www.bangkokbiznews.com/columnist/
ชูขวัญ รัตนพิทักษ์ธาดา, และปทุมทอง ไตรรัตน์. (2566). สมรรถนะของผู้นำทางการศึกษาเพื่อการอยู่รอดและเติบโตในยุค BANI World. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปชิฟิค, 9(1), 1-28.
ธิดา พิทักษ์สินสุข. (2019). The Effects of Early Childhood Education Crisis on Thailand’s Future. Journal of Early Childhood Education Management, 1(1), 77-83.
นรินทร์ รินพนัสสัก,นัสวรรณ ใจมั่น, และราชาวดี สุขภิรมย์. (2565). การปรับตัวของครูปฐมวัยยุค BANI WORLD. วารสารมนุษยสังคมศาสตร์, 1(3), 1 – 20.
บุญชนก ธรรมวงศา.(2564). Self-Regulation: มีเป้าหมาย กำกับตัวเอง หักห้ามใจ ไม่ทำให้คนอื่น เดือนร้อน. https://thepotential.org/knowledge/self-regulation/
วรรธนา นันตาเขียน, กุลภัสสรณ์ ตั้งศิริวัฒนากุล, และสุกัลยา สุเฌอ (2560). ทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย ในยุคประเทศไทย 4.0 LIFE SKILLS OF YOUNG LEARNERS IN THAILAND 4.0. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม. 13(1), 7-18.
วราภรณ์ สามโกเศศ. (2565). กรอบคิดจาก VUCA สู่ BANI. กรุงเทพธุรกิจ.http://www.bangkokbiznews.com/columnist/1004689
อาภาพร สระทอง และไสว ฟักขาว. (2565). บทบาทใหม่ของนักการศึกษาในโลกที่พลิกผัน. http://pbs.mcu.ac.th/wp-content/uploads/2018/02/00157_33_2557
Ajith Bopitiya. (2023). The BANI World: Challenges and Opportunities. https://www.linkedin.com/pulse/bani-world-challenges-opportunities-ajith-bopitiya
Barbra Stottinger.(2022). BANI vs VUCA: How Leadership Works in the World of Tomorrow. https://executiveacademy.at/en/news/detail/bani-vs-vuca-how-leadership-works-in-the-world-of-tomorrow.
Brodie, Victoria Kimball. (2019). Disrupted Leadership: Strategies and Practices of Leaders in A VUCA World. https://www.researchgate.net/.
EAE Business School. (2002). The Most In – Demand Soft Skills in 2022: Skills for an Uncertain World. https://www.eae.es/en/news/most-demand-soft-skill-2022-skills-uncertain-word.
Jamais Cascio. (2020, 30 April). Facing The Age of Chaos. https://medium.com/@cascio/facing-the-age-of-chaos-b00687b1f51d.
Latif, Suzana Abd & Ahmad, Mohd Amir Shaukhi. (2021). Learning Agility Among Educational Leaders: A VUCA-Ready Leadership Competency?. https://www.researchgate.net/publication/354432053_
Nurbantoro, Endro. (2021). Strategic Leadership In The VUCA Era: Challenges Facing COVID- 19. https://www.academia.edu/50733666/STRATEGIC_LEADERSHIP_IN_THE_VUCA_ERA_CHALLENGES_FACING_COVID_19
Pramjeeth, S., & Mutambara, E. (2022). A conceptual leadership framework and process for leading in a volatile environment. Academy of strategic Management Journal, 21(S1). 1-15.
Susan A. Ambrose, Michael W. Bridges, Michele DiPietro, Marsha C. Lovett, Marie K. Norman, Richard E. Mayer (Foreword). (2022). How Learning Works: Seven Research-Based Principles for Smart Teaching (1st ed). New York: Wiley.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว