CSR และ ESG: แนวคิดและแนวทางการดำเนินงานของภาคเอกชนเพื่อความยั่งยืน
คำสำคัญ:
ความรับผิดชอบต่อสังคม, สิ่งแวดล้อม, สังคม, การกำกับดูแลที่ดีบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเอกสารทางวิชาการ ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) และแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแลที่ดี (Environment Social Governance : ESG) โดยนำเสนอและอธิบายถึงการดำเนินธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ความรับผิดชอบต่อสังคม พีระมิดของความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม ประเภทความรับผิดชอบต่อสังคมโดยอาศัยเกณฑ์การจำแนกตามกระบวนการในการดำเนินธุรกิจ มาตรฐาน ESG และการเปรียบเทียบ CSR กับ ESG ซึ่งพบว่า CSR เป็นคำที่ใช้แสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งที่สังคมคาดหวังและตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผ่านการดำเนินงานในรูปแบบต่าง ๆ และใช้สื่อถึงภาพลักษณ์และ
ผลการปฏิบัติงาน ส่วน ESG เป็นคำที่ใช้แสดงถึงธุรกิจที่คำนึงถึงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับกิจการที่ดี โดยใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจของนักลงทุน นอกจากนี้บทความวิชาการได้นำเสนอตัวอย่างการศึกษาการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบ CSR กับ ESG ในแง่มุมของการดำเนินงานของภาคเอกชน ซึ่งอาจประยุกต์ใช้เป็นแนวทางสำหรับการดำเนินธุรกิจ
Downloads
References
จินตนา บุญบงการ. (2561). การจัดการจริยธรรมทางธุรกิจ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2564). ESG เมกะเทรนด์แห่งโลกการลงทุน. PwC. https://www.pwc.com/th/en/pwc-thailand-blogs/blog-20211122.html
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน. SET Sustainability. https://setsustainability.com//download/73ndbzry48hiows
ธนาคารไทยพาณิชย์. (ม.ป.ป). เรียน-รู้-ปรับใช้ “ESG” ในแบบของ “ซาบีน่า”. https://www.scb.co.th/th/personal-banking/story/success-story/sabina-sustainability-management-team.html
ประชาชาติธุรกิจ. (2563). ข้อมูล ESG คืออะไรและสำคัญไฉน?. https://www.prachachat.net/csr-hr/news-533387
พสุ เดชะรินทร์. (2563). ESG ดีจริงหรือ?. https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/125629#google_vignette
พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2559). การจัดการความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ การสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 2). ศูนย์ผู้นำธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สถาบันไทยพัฒน์. (2560). 6 ทิศทาง CSR ปี 2560: Articulating 'Global Goals' to 'Local Impacts'. https://www.thaicsr.com/2017/03/6-csr-2560.html
สถาบันไทยพัฒน์. (2566). ความสำคัญของ CSR. https://www.thaicsr.com/2005/09/blog-post_112746387637126873.html?m=0
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2565). ทำความเข้าใจ ‘ESG’ เครื่องมือนำองค์กรสู่การเติบโตที่แข็งแกร่งและยั่งยืน. https://www.ftpi.or.th/2022/85911
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2562). แนวคิดการกำกับดูแลกิจการที่ดีและการพัฒนากิจการเพื่อความยั่งยืน. https://www.sec.or.th/cgthailand/TH/pages/overview/cgandsustainablebusinessdevelopment.aspx
สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี. (2556). ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม. บริษัท แปลน พริ้นท์ติ้ง จำกัด.
สุวัฒน์ ทองธนากุล. (2558). อย่าสับสนกับสารพัดศัพท์ CSR-CSV-SE-ESG-SD. https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9580000127266
Anderson, E. (2023). ESG vs CSR vs SDG. https://px3.uk/blog/f/esg-vs-csr-vs-sdg
Bitan, R. (2022). ESG or CSR? A Strategic Inside-Out vs. Outside-In View. https://www.esggo.com/blog/esg-or-csr
Braun, A. (2022). Corporate Social Responsibility – More relevant than ever before! But possibly outdated as a concept?. https://www.arcticcentre.org/blogs/Corporate-Social-Responsibility-%E2%80%93-More-relevant-than-ever-before! --But-possibly-outdated-as-a-concept/me32fvt0/4139289d-e8c1-4abc-82a0-18def05f0da5
Carroll, A. B., Brown, J. A., & Buchholtz, A. K. (2018). Business & society: Ethics, sustainability, and stakeholder management (10th ed.). Cengage Learning.
Financial Regulatory Commission. (2022). ESG & sustainability reporting guidance for Mongolian companies. https://www.undp.org/sites/g/files/zskgke326/files/2022-08/ESG%20reporting%20ENG.pdf
Gassmann, P., & Kern, D. (2023). Key drivers and actions that can ensure organizations fully embrace ESG values and behaviors. https://www.strategyand.pwc.com/de/en/functions/sustainability-strategy/cultural-change-in-esg-transformations.html
Hallgren, R. (2021). CSR, ESG & SDGs: What do they mean? What’s the difference? https://boardclic.com/esg/csr-esg-sdgs/
Horton, C. (2022). Explainer: What is the ‘S’ in ESG investing? https://www.reuters.com/business/sustainable-business/what-is-s-esg-investing-2022-07-19/
Kaźmierczak, M. (2022). A literature review on the difference between CSR and ESG. Scientific Papers of Silesian University of Technology Organization and Management Series, 162, 275-289. https://doi.org/10.29119/1641-3466.2022.62.16
Kim, S., & Shin, J. E. (2022). Evolving boundaries of CSR: South Korea’s PPP-ODA in international development. Development Studies Research, 9(1), 206-218. https://doi.org/10.1080/21665095.2022.2112730
Kostić, N., & Hujdur, A. (2023). Building a sustainable future: ESG business handbook. https://www.undp.org/bosniaherzegovina/publications/building-sustainable-future-esg-business-handbook
Miller-Muro, L. (2023). What’s the deal with ESG? Everything your organization needs to know. https://www.skillsoft.com/blog/whats-the-deal-with-esg-everything-your-organization-needs-to-know
Park, J. G., Park, K., Noh, H., & Kim, Y. G. (2023). Characterization of CSR, ESG, and corporate citizenship through a text mining-based review of literature. Sustainability, 15(5), 3892. https://doi.org/10.3390/su15053892
Pratt, L. (2023). Why ESG means changes for company culture. https://future-business.org/why-esg-means-changes-for-company-culture/
RBC Wealth Management. (2018). The benefits of ESG investing: How socially responsible investing can drive outperformance. https://us.rbcwealthmanagement.com/documents/170410/170426/18-WG-774_Etergino+Group_Benefits+of+ESG+Investing+Flyer_evite.pdf/2f645a56-155e-4b55-8bc2-3e1a61fc84b6
World Economic Forum. (2022). Defining the ‘G’ in ESG governance factors at the heart of sustainable business. https://www3.weforum.org/docs/WEF_Defining_the_G_in_ESG_2022.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว