เรื่องเล็กๆ ของเทคโนโลยีดนตรี 2
Keywords:
เทคโนโลยีดนตรีAbstract
จากเมื่อตอนที่แล้ว เราได้ทำความรู้จักรูปแบบของข้อมูลเสียง ตลอดจนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมีดี(MIDI) เช่น การเชื่อมต่ออุปกรณ์มีดี้แบบเริ่มแรก ตลอดจน มีดี้คอนโทรเลอร์(MIDI Controller) ในรูปแบบต่างๆ ไปแล้วนั้น ในตอนนี้จะผู้เขียนจะกล่าวถึงประวัติของมีดี้และโครงสร้าง ไวยากร ต่างๆของมีดี้ ที่ดูจะเป็นเรื่องง่ายๆ ใครๆก็ทำได้หากแต่ว่า น้อยคนนั้นที่จะเข้าใจและใช้มีดี้ได้ในการสร้างดนตรีได้อย่างมีคุณภาพ MIDI ย่อมาจาก Musical Instrument Digital Interface เกิดขึ้นในช่วงทศวรรศที่80 ซึ่งเป็นยุคที่เชื่อมต่อมา จาก การเกิดขึ้นของเครื่องสังเคราะห์เสียง (Analog Synthesizer) เกิดขึ้นเพื่อรองรับแนวคิดที่จะควบคุมเครื่อง-สังเคราะห์เสียง หลายๆเครื่องพร้อมๆกัน สื่อสารข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์ดนตรีไฟฟ้าต่างๆเช่น เครื่องสังเคราะห์ เสียง (Synthesizer) กับซีเควนเซอร์(Sequencer) เช่นเดียวกันกับการเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในแบบ LAN (Local Area Network) การเกิดขึ้นของแนวคิดนี้เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่า การเกิดขึ้นของระบบ LAN ในโลกของ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับการเกิดขึ้นมีดี้นั้น เป็นช่วงเวลาเดียวกัน และแนวคิดดังกล่าวในยุคนั้นถูกพัฒนาจนเป็น ระบบอินเตอร์เน็ต ระบบการการสื่อสารของมนุษยโลกไปแล้ว
References
2. MIDI Manufactuer Association, History of MIDI, Retrived July 31,2010 from http://www.midi.org/aboutmidi/ tut_history.php
3. Vintage synth exporior, YAMAHA DX7, Retrived July 31,2010 from http://www.vintagesynth.com/yamaha/ dx7.php
4. Vintage synth exporior, ROLAND JX3, Retrived July 31,2010 from http://www.vintagesynth.com/roland/ jx3p.php
5. Vintage synth exporior, Sequential Circuits • Prophet 600, Retrived July 31,2010 from http://www.vintagesynth.com/sci/p600.php
6. Electronices , MIDI hardware, Retrived July 31,2010 from http://www.electronics.dit.ie/staff/tscarff/ Music_technology/midi/midi_hardware.htm
7. Wikipedia, MIDI e, Retrived July 31,2010 from http://en.wikipedia.org/wiki/Musical_Instrument_Digital_Interface
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
กองบรรณาธิการฯ สงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตอบรับการตีพิมพ์ ความรับผิดชอบใดๆ เกี่ยวกับเนื้อหาและความคิดเห็นในบทความเป็นของผู้เขียนต่อบทความนั้นๆ กองบรรณาธิการฯ ไม่ต้องรับผิดชอบ