ศึกษาบทบาท สถานภาพ และกิจกรรมของดนตรีปีพาทย์มอญ ในสังคมและวัฒนธรรม จังหวัดปทุมธานี

Authors

  • สุวิวัฒน์ ธิติวัฒนารัตน์ Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

ดนตรีปีพาทย์มอญ, จังหวัดปทุมธานี

Abstract

จังหวัดปทุมธานีมีกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิม ประกอบด้วยชาวไทยดั้งเดิมที่อาศัยในพื้นที่ และชนชาติมอญที่อพยพเข้ามา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ชาวมอญได้ อพยพเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชา (พ.ศ. 2112-2133) ต่อมาในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ราว ปี พ.ศ. 2202 พระองค์ทรงโปรดให้ ชาวมอญตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองสามโคก เมืองเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ริมน้ําเจ้าพระยา ซึ่งเมืองสามโคกในอดีต ได้กลายเป็นภาพสะท้อนหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี ดังนั้นวัฒนธรรมของชาวปทุมธานีจึงมีหลากหลาย ทั้งที่เป็นวัฒนธรรมของชาวไทยดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ และวัฒนธรรมของชาวมอญที่อพยพเข้ามา รวมไปถึงการผสมผสานทางวัฒนธรรมของทั้งสองเชื้อชาติ

References

1. คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2514), โครงกระดูกในตู้, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์สยามรัฐ.
2. งามพิศ สัตย์สงวน.(2538), หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 3), กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
3. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี (2539), วัฒนธรรมปี่พาทย์มอญ ในที่ระลึกงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 27 (140-162) ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
4. ณรงค์ฤทธิ์ คงปิ่น. (2539), การศึกษาวัฒนธรรมดนตรีของปี่พาทย์มอญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาดุริยางคศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. ณรงค์ เขียนทองกุล. (2539), มานุษยวิทยาการดนตรี: กรณีศึกษาบ้านบางลําพู. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
6. ณรงค์ชัย ปิฏกรัชต์. (2542), สารานุกรมเพลงไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
7. ทองคํา พันนัทธี. (2524), ปทุมธานีในอดีต. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฑารัตน์การพิมพ์.
8. ทองคํา พันนัทธี (2538), ปทุมธานีท้องถิ่นของเรา. ปทุมธานี: โรงพิมพ์ พี. พริ้นติ้งกรุ๊ป จํากัด.
9. ธนิต อยู่โพธิ์. (2530), หนังสือเครื่องดนตรีไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิฆเณศ.
10. ปรานี วงษ์เทศ. (2525), พื้นบ้านพื้นเมือง กรุงเทพมหานคร: เจ้าพระยา
11. พิสัณฑ์ ปลัดสิงห์. (2530), คนมอญ, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ด่านสุธาการพิมพ์.
12. พูนพิศ อามาตยกุล และคนอื่นๆ.(2541), คุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ ในอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ (39-40), กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับแอนด์พับลิชชิ่ง.
13. มนตรี หลักคงคา และคณะ (2527), อนุสรณ์มอญรําลึก. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์มณีวิทยาการพิมพ์.
14. วิมาลา ศิริพงษ์. (2534), การสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทยในสังคมปัจจุบัน: ศึกษากรณีสกุลพาทยโกศลและสกุล ศิลปบรรเลง. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
15. ศูนย์วัฒณธรรมประจําจังหวัดปทุมธานี (2525), สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี จังหวัดปทุมธานี, กรุงเทพมหานคร
16. โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่นกรมการปกครอง สุจริตลักษณ์ ดีผดุง และคณะ (2528), มอญ: บทบาทด้านสังคม วัฒนธรรมความเป็นมาและความเปลี่ยนแปลง ในรอบ 200 ปี ของกรุงรัตนโกสินทร์ งานวิจัยสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม
17. สุจริตลักษณ์ ดีผดุง และคณะ (2542) สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญ, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมมิก จํากัด.
18. สุดแดน สุขเกษม.(2542). แตรวงชาวบ้านกับการรับใช้สังคม: กรณีศึกษาคณะถนอมศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
19. สเอ็ด คชเสนี (2527), วัฒนธรรมประเพณีมอญ. เมืองโบราณ, 70 (30) 50-65. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, เอกสาร รัชกาลที่ 6 น. 17.3/36. "ขอเงินค่าพิณพาทย์มอญในคราวงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง"
20. อุทัย สินธุสาร. (2531), สารานุกรมไทย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์บรรณศิลป์.
21. อานันท์ นาคคง. (2538), คีตกรรมหลังความตาย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: โรงพิมพ์ห้องภาพสุวรรณ
22. Thongchai Winichakul. 1994. Siam Mupped: a History of the Geo-Body of a Aation. Honolulu: University of Hawaii Press.

Downloads

Published

07.08.2018

How to Cite

ธิติวัฒนารัตน์ สุวิวัฒน์. 2018. “ศึกษาบทบาท สถานภาพ และกิจกรรมของดนตรีปีพาทย์มอญ ในสังคมและวัฒนธรรม จังหวัดปทุมธานี”. Rangsit Music Journal 4 (2):40-50. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/138895.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article