Ethnomusicology: Mentoring a New Graduate
Abstract
เนื้อหาบทความวิจัยเรื่องดังกล่าวนํามาจากวิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) พ.ศ. 2550 เรื่อง การพัฒนากิจกรรมเตรียมความพร้อมสําหรับรายวิชาพื้นฐานดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (The Development of Mentoring Activities for the Foundations of Ethnomusicology) วิทยานิพนธ์ดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดนตรีเป็นศิลปะที่ละเอียดอ่อนเนื่องจากดนตรีมองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ จะสัมผัสดนตรีได้ด้วยการรับรู้ทางเสียงจึงพบกับความงามของดนตรี และจะรู้สึกซาบซึ้งได้มากน้อยเท่าใดนั้น จะขึ้นอยู่กับสติปัญญา พื้นฐานประสบการณ์และสุนทรียภาพของแต่ละบุคล ซึ่งข้อจํากัดดังกล่าวของมนุษย์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาได้จากความสําคัญของดนตรีที่มีต่อมนุษย์และสังคม จึงจําเป็นต้องมีกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีให้เหมาะสมกับความถนัดตามความแตกต่างของเด็กหรือแต่ละบุคคล เพื่อสืบทอดคุณค่าดนตรีให้คงอยู่ควบคู่กับมนุษย์ สังคม และเกิดพัฒนาการต่อไปการเรียนการสอนดนตรีในปัจจุบันแบ่งการสืบทอดดนตรีออกเป็นสาขาต่างๆ เช่น ดนตรีปฏิบัติ ทฤษฎีดนตรี การประพันธ์เพลง การอํานวยเพลง ดนตรีวิทยา ดนตรีบําบัด และดนตรีชาติพันธุ์วิทยา เป็นต้น ดังนั้นดนตรีจึงเป็นศาสตร์ที่สําคัญ สาขาหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาการทางร่างกายและ - จิตใจให้กับมนุษย์ ทั้งทางสติปัญญา จิตใจ - อารมณ์ สังคม และร่างกายได้เป็นอย่างดี
References
2. ธีรยุทธ บุญมี, 2546. โลก MODERN & POST MODERN. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์สายธาร.
3. นาตยา ปิลันธนานนท์, 2545. จากมาตรฐานสู่ชั้นเรียน, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จํากัด
4. _____. 2546. จากหลักสูตรสู่หน่วยการเรียน กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จํากัด.
5. บุญเรียง ขจรศิลป์, ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์, และปราณี โพธิสุข. 2544. การนํากระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การเลี้ยงโคนมไปประยุกต์ใช้ในต่างบริบท (ระยะที่ 1), กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 6. ปัญญา รุ่งเรือง, 2546. หลักวิชามานุษยดุริยางควิทยา, เอกสารการสอน รายวิชา 393571 พื้นฐานดนตรีชาติพันธุ์วิทยา กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. ปราณี โพธิสุข. 2546. "การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Interview)" เอกสารประกอบการสอนคณะศึกษาศาสตร์, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
8. วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2541. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กรุงเทพมหานคร, เลิฟแอนด์ลิพเพลส จํากัด. หน้า 38-46.
9. วัลลภา สุระกําพลธร. 2549. สารวิจัย: Mentor: ที่ปรึกษาเชิงพี่เลี้ยง, กรุงเทพมหานคร: คณะมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
10. สุภางค์ จันทวนิช. 2540. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
11. สุวิมล ว่องวาณิช. 2546. การวัดทักษะการปฏิบัติ, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
12. สันทัด ตัณฑนันทน์, 2538. บันทึกเพลงไทยเป็นโน้ตสากลอย่างไร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
13. สมบัติ การจนารักพงศ์, 2547. นวตกรรมการศึกษาชุด. ๒๙ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายการเรียนแบบร่วมมือ, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ธารอักษร จํากัด.
14. สมบูรณ์ สงวนญาติ, 2534. เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน, กรุงเทพฯ: ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.
15. อมรา พงศาพิชญ์, 2537. วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2546. หลักการสอน(ฉบับปรับปรุง), กรุงเทพมหานคร: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
17. อานันท์ นาคคง, 2540. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง): มหาดริยกวีลุ่มเจ้าพระยาแห่งอุษาคเนย์กรุงเทพฯ : มติชน.
18. Anderson, E. and Shannon, A. 1995. Towards a Conceptualization of Mentoring, in Issues in Mentoring, T. Kerry and A. Shelton Mayes, Buckingham: Open University Press. Blandford, S. 2000. Managing Professional Development in Schools. London: Routledge Press.
19. Boyarsky, L. T. 1989. "Dalcroze Eurhythmics: An Approach to Early Training of the Nervous System" New York: Thyme Medical Publishers, Inc.
20. Carmin, C. N. 1988. Issues on Research on Mentoring: Definitional and Methodological. International Journal of Mentoring, 2(2), pp 9-13.
21. Carmin, S. 1993. Definitions of Mentoring, in The Return of the Mentor: Strategies for Workplace Learning. London: Falmer Press.
22. Dawley, R. M. 1980. An Analysis of the Methodological Orientation and the Music Literature Used in the Suzuki Violin Approach. Ph.D. Dissertation, Northwestern University.
23. Desmond, K. J. 2005. A Qualitative Study of the Mentoring Experiences of School Counselors without Teaching Experience in the State of Ohio. Ph.D. Dissertation, Kent State
University.
24. Furlong, J. 1995. The Limits of Competence: A Cautionary Note on Circular 9/92, In Issues in Mentoring, eds. T. Kerry and A. Shelton Mayes. London: Routledge Press.
25. Jacobi, M. 1991. Mentoring and Undergraduate Academic Success: A Literature Review, Review of Educational Research. 61(4), pp. 505-532.
26. Joerg, L. A. 2004. The Experience of Being Mentored During the Dissertation Phase of a Doctoral Degree at a Distance-Learning University. Ph.D. Dissertation, Walden University.
27. Jones, M. L. 2004. Differences in the Effectiveness of Two Mentoring Models. Ed.D. Dissertation, University of Virginia.
28. Kochhar, S. K. 1982. Methods and Techniques of Teaching. New Delhi: Sterling Publishers.
29. Maynard, T. and Furlong, J. 1995. Learning to Teach and Models of Mentoring. In Issues in Mentoring, T. Kerry and A. Shelton Macys, Buckingham: Open University Press.
30. Merriam, S. 1983. Mentors and Prot? g?s: A Critical Review of the Literature. Adult Education Quarterly. 33 pp. 161-173.
31. Moerer, T. 2005. A Longitudinal Qualitative Study of Collegiate Mentoring Experiences in the Nebraska Human Resources Research Foundation. Ph.D. Dissertation, The University of Nebraska-Lincoln.
32. Myers, H. 1980. Ethnomusicology: An Introduction. New York: University Press. Nettl, B. 1980. The Study of Ethnomusicology. New York: Shirmer Books.
33. Perri, P. G. 1998. Mentoring of Undergraduate Students: The Assessment of Mentor Effectiveness (Quality of Mentoring) and Its Relationship to Student Outcomes. Ph.D. Dissertation, The Fielding Institute.
34. Polverini-Rey, R. A. 1992. Intrauterine Musical Learning: The Soothing Effect on Newborns of a Lullaby Learned Prenatally. Ph.D. Dissertation Abstracts, #9233740.
35. Rothera, M. , Hawkins, S. and Hendry, J. 1995. The Role of Subject Mentor in Further Education. In Issues in Mentoring. pp. 86-98.
36. T. Kerry and A. Shelton Mayes, Buckingham Open University Press.
37. Schon, D. 1983. The Reflective Practice. New York: Basic Books Press.
38. Spear, L. L. Mentoring the Emotional Dimensions of Leadership: The Perception of Interns. Ed.D. Dissertation, University of Washington.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
กองบรรณาธิการฯ สงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตอบรับการตีพิมพ์ ความรับผิดชอบใดๆ เกี่ยวกับเนื้อหาและความคิดเห็นในบทความเป็นของผู้เขียนต่อบทความนั้นๆ กองบรรณาธิการฯ ไม่ต้องรับผิดชอบ