ดนตรีในพิธีแรกนาขวัญ

Authors

  • สมเกียรติ หอมยก Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

พิธีแรกนาขวัญ, ดนตรีในพิธีแรกนาขวัญ

Abstract

แรกนาขวัญ เป็นภาษาของคนในภาคกลางที่ราบลุ่มน้ําเจ้าพระยาตรงกับ ภาษาของคนบริเวณสองฝั่งแม่น้ําโขงว่า นาตา แฮก แฮก คือ แรก) หมายถึงการไถนาทํานา ปลูกข้าวครั้งแรกในนาจําลองขนาดเล็กๆ ที่สมมุติ ขึ้น แล้วมีพิธีสู่ขวัญวิงวอนร้องขอต่ออํานาจเหนือ ธรรมชาติ (บางทีเรียกผีนาหรือพระภูมินา) จง บันดาลให้ทํานาจริงๆ ได้ผลผลิตเป็นข้าวงอกงาม อุดมสมบูรณ์เหมือนนาจําลองที่สมมุติขึ้นครั้งแรก นี้ บางแห่งเช่นภาคเหนือจะทําพิธีสังเวยแม่โพสพ พร้อมกันไปด้วย ภาษาทางราชการเรียก จรดพระนังคัล เป็นคําเขมร (นังคัล คือ ผาลไถนา) แปลว่า ไถนาครั้งแรก มีหลักฐานยืนยันในเอกสารเก่าแก่ ว่า พระเจ้าแผ่นดินเมื่อราว 700 ปีมาแล้ว มอบให้ เจ้านายและขุนนางทําพิธีนี้ เพื่อความมั่งคั่งใน พืชพันธุ์ธัญญาหารของราชอาณาจักรจะละเว้น มิได้ต้องทําทุกปี จึงมีสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน (สุจิตต์ วงษ์เทศ: สยามประเทศไทย)

References

1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (๒๕๑๖) พระราชพิธีสิบสองเดือนพระราชนิพนธ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.
2. ธนิต อยู่โพธิ์. (๒๕๒๓), เครื่องดนตรีไทยพร้อมด้วยตํานานการผสมวงมโหรี ปี่พาทย์ และเครื่องสาย, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
3. เบญจมาศ พลอินทร์ (๒๕๒๓), วรรณคดีขนบประเพณี พระราชพิธีสิบสองเดือน, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
4. สุภักดิ์ อนุกูล (๒๕๓๐) วันสําคัญของไทย, กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑิต.
5. มนตรี ตราโมท. (๒๕๓๘), ดนตรีไทย, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
6. สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ. (๒๕๔๐), คําบรรยายวิชาดุริยางค์ศาสตร์ไทยโดยนายบุญธรรม ตราโมท พ.ศ. ๒๔๔๑. กรุงเทพฯ: ศิลปสนองการพิมพ์.
7. มนตรี ตราโมท. (๒๕๔๐), ดุริยางค์ศาสตร์ไทย ภาควิชาการ. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์มติชน.
8. ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๐) สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคตะ-ดุริยางค์, กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Downloads

Published

08.08.2018

How to Cite

หอมยก สมเกียรติ. 2018. “ดนตรีในพิธีแรกนาขวัญ”. Rangsit Music Journal 2 (2):16-25. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/139042.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article