การจัดตั้งวงขับรองประสานเสียงเด็กให้ประสบความสําเร็จ

Authors

  • สุขชัย ภวการค้าดี Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

วงขับรองประสานเสียงเด็ก

Abstract

การขับร้องเพลงเป็นกิจกรรมทางดนตรีที่ทําได้ง่าย สะดวก ประหยัด และมีประโยชน์กว่ากิจกรรมดนตรีอื่นๆ เพราะในบรรดาเสียงดนตรีทั้งหมด เสียงร้องเป็นเสียงดนตรีที่มีความใกล้ชิดมนุษย์มากที่สุด การร้องเพลงเป็นสิ่งบันเทิงที่ใกล้ตัวที่สุดและประหยัดที่สุด เพราะเครื่องดนตรีชิ้นเอกคือ เส้นเสียง ซึ่งอยู่ในร่างกายของเรา ไม่ต้องซื้อหาด้วยราคาแพง เสียงเพลงที่ถูกเปล่งออกมาจากส่วนลึกของจิตใจ ทําให้ร่างกายสดชื่น ระบบการทํางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายมีการประสานกันอย่างดี ส่งผลให้ระบบต่างๆ เช่น การหายใจ การไหลเวียนของโลหิต ความดันโลหิต การย่อยอาหาร ตลอดจนการขับถ่าย มีการทํางานที่ดีขึ้น การขับร้องประสานเสียงเป็นกิจกรรมทางดนตรีที่มีความสำคัญยิ่ง เหมาะสมสำหรับการเริ่มจ้นเรียนดนตรีของเด็กนักเรียนในทุกๆ ระดับชั้น เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการศึกษาวิชาดนตรีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง สามารถให้การศึกษากับคนจํานวนมากได้ ก่อให้เกิดกลุ่มคนที่ได้รับการพัฒนา ให้มีจิตใจอ่อนโยน รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประ โยชน์ มีวินัย มีบุคลิกภาพที่ดี และรู้จักการทํางานเป็น หมู่คณะ

References

1. กฤษดิ์ บูรณวิทยวุฒิ. (2547). ห้องสําหรับการเรียนการสอนดนตรี, วารสารเพลงดนตรี, 4(9), 35-38.
2. ดวงใจ อมาตยกุล (2546), การขับร้องประสานเสียง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. พึงจิตต์ สวามิภักดิ์. (2530), การอํานวยเพลงวงขับร้องประสานเสียง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. เพ็ญจันทร์ วัฒนมงคล. 27 ธันวาคม 2547. รองผู้อํานวยการฝ่ายกิจการนักเรียน โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย. สัมภาษณ์
5. วณี ลัดดากลม. (2542). การศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกร้องประสานเสียงในรายวิชา MSID102 การขับร้องประสานเสียง มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
6. สถิต สุกจงชัยพฤกษ์, 15 กุมภาพันธ์ 2548. ผู้อํานวยเพลงวงขับร้องประสานเสียงโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย. สัมภาษณ์.
7. ศักดิ์ชัย หิรัญรักษ์. (2537), ดนตรีศึกษา : เพลงขับร้องประสานแนวเบื้องต้น (Part Singing) วารสารเพลงดนตรี ,1(4) , 16.
8. Freer, P.K. (1998). Getting Started with Middle-Level Choir Virginia: MENC Music Educators National Conference.
9. Music Educators National Conference. (1986). The School Music Program. Description and Standards (2nd ed.). Virginia : MENC Music Educators National Conference.
10. Music Educators National Conference. (1991). Teaching Choral Music Course of Study. Virginia : MENC Music Educators National Conference.
11. Pawakarnkadee,S. (2005). Extra Curricular Elementary School Choirs : A Case Study of Bangkok Christian College Boys' Choir. Thesis for the degree of Master of Arts (Music). Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
12. Small ,A.R. & Bower, J. K. (1997) Strategies For Teaching Elementary and Middle-Level Chorus. Virginia: MENC Music Educators National Conference.

Downloads

Published

08.08.2018

How to Cite

ภวการค้าดี สุขชัย. 2018. “การจัดตั้งวงขับรองประสานเสียงเด็กให้ประสบความสําเร็จ”. Rangsit Music Journal 1 (2):15-21. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/139113.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article