Neoclassic

Authors

  • วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

Neoclassic

Abstract

นีโอคลาสสิกซิซึ่ม (Neoclassicism) เป็นชื่อที่คิดขึ้นโดย แฟรชโช บูโซนี (Ferru- ccio Busoni; 1866-1924) ซึ่งนักประพันธ์เพลง และนักเปียโนชาวอิตาลีที่มีเชื้อสายเยอรมัน ดนตรีนีโอคลาสสิกเป็นการเลียนแบบ หรือการนําวัตถุดิบจากยุคก่อนมาใช้ โดยไม่มี กฎเกณฑ์ที่กําหนดอย่างชัดเจนว่าต้องเลียนแบบ ลักษณะทางดนตรีมาจากยุคคลาสสิกเท่านั้น ซึ่ง คําว่า "คลาสสิก" ในที่นี้เป็นเพียงการกล่าวถึงช่วง เวลาในอดีต คําว่า นีโอคลาสสิกซิซึ่ม อาจเป็น คําที่ใช้ผิด นักประพันธ์ได้นําวัตถุดิบหลาย ประการมาใช้สําหรับการประพันธ์ดนตรีของ พวกเขาไม่ว่าจะเป็นลักษณะเฉพาะทางดนตรี (Style) รวมไปถึงสังคีตลักษณ์ทางดนตรี (Form) โดยไม่คํานึงว่าต้องเป็นวัตถุดิบที่มาจากยุค คลาสสิกเท่านั้น พวกเขาได้นําวัตถุดิบมาจาก ทั้งยุคบาโรค และยุคเรอเนสซอง" (Grout 88 Palisca, 1996: 716) อย่างเช่น Classical Symphony (1916-1917) ของโปรโคเฟียฟ (Prokofier) เป็น บทเพลงที่เลียนแบบบทเพลงประเภทซิมโฟนี ของไฮเดิน (Haydn) ซึ่งเป็นนักประพันธ์จาก ยุคคลาสสิก Dumbarton Oaks (1938) ของ สตราวินสกี (Stravinsky) เป็นบทเพลง คอนแชร์โตที่เลียนแบบมาจากคอนแชร์โตกรอสโซ ของวิวัลดี (Vivaldi) และบาค (Bach) จาก ยุคบาโรค The Rake's Progress (1951) ของ สตราวินสกี เป็นงานสําหรับโอเปร่าที่เลียนแบบ มาจากโมสาร์ท (Mozart) ซึ่งเป็นนักประพันธ์ จากยุคคลาสสิก

References

1. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีดนตรีศตวรรษที่ยี่สิบ เอกสารอัดสําเนา.
2. ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2540). สังคีตนิยมความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก (พิมพ์ครั้งที่ 3), กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. Gåviñou šoluisOJ. (2542). Music of the Master. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. Ferris, J. (1995). Music The Art of Listening (4th ed.). U.S.A.: Brown & Benchmark Publishers.
5. Grout, D. J., & Palisca, C.V. (1996). A History of Western Music (54 ed.). New York: W.W. Norton & Company.
6. Hoffer, C. R. (1985). The Understanding of Music (5'h ed.). Belmont, California: Wadsworth Publishing.
7. Kamien, R. (1996). Music an Appreciation (6th ed.). U.S.A.: The MacGraw-Hill Companies, Inc.
8. Kostka, S. (1990). Materials and Techniques of Twentieth-Century Music. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
9. Sadie, S. (1995). The New Grove Dictionary of Music and Musicians (VolumeThirteenth). London: Macmillan Publisher.
10. Sadie, S., & Latham, A. (1990). Brief Guide to Music. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
11. Salzman, E. (1967). Twentieth-Century Music An Introduction. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
12. Watkins, G. (1988). Sounding Music in Twentieth Century. New York: A Division of Macmillan, Inc.
13. Willoughby, D. (1996). The World of Music( 3'ded.). U.S.A.: Brown & Benchmark Publishing.
14. Wilson, C. (1976). Collins Encyclopedia of Music (Revised Ed.). London: William Collins Sons & Company Limited.

Downloads

Published

08.08.2018

How to Cite

ตระกูลฮุ้น วิบูลย์. 2018. “Neoclassic”. Rangsit Music Journal 1 (1):15-26. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/139123.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article