การอิมโพรไวส์เบื้องต้น: ความสำคัญของทางเดินเบสในการอิมโพไวส์

Authors

  • ธีรัช เลาห์วีระพานิช Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

Improvisation, Chord Progression, Jazz

Abstract

        การอิมโพรไวส์ (Improvisation) คือ หัวในและเสน่ห์ของดนตรีแจ๊ส ในการอิมโพรไวส์ นักดนตรีมีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้องรู้จักทางเดินของเสียงประสาน (Harmonic Progression) ของบทเพลงที่ต้องการบรรเลง เพื่อที่สามารถอิมโพรไวส์ได้อยา่งถูกต้องตามความต้องการของผู้แต่ง ไม่ผิดเพี้ยนไปจากสิ่งที่ควรจะเป็น ซึ่งถูกกำกับโดยคอร์ดต่างๆ นักดนตรีที่เล่นเปียโนและกีตาร์ คงไม่มีปัญหาเรื่องการได้ยินทางเดินคอร์ด (Chord Progression) และมีความรู้ความเข้าใจในเสียงประสาน ปัญหา คือ นักดนตรีที่ไม่ได้เล่นเครื่องที่ให้เสียงประสาน เช่น แซกโซโฟน ทัมเป็ต ทรอมโบน เป็นต้น ทำอย่างไรถึงจะได้ยินทางเดินคอร์ด รู้จักเสียงต่างๆ ของคอร์ด และเข้าใจในเสียงประสาน นี่คือปัญหาใหญ่ของนักดนตรีที่ไม่ได้เล่นเครื่องเสียงประสาน เพราะการอิมโพรไวส์โดยไม่เข้าใจทางเดินคอร์ด ไม่เข้าใจเสียงประสาน เสมือนเป็นการบรรเลงที่ไร้เป้าหมายและแนวทาง 

References

1. ณัชชา โสคติยานุรักษ์. (2547). พจนานุกรมศัพทืดุริยางคศิลป์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

2. Levine, M. (1995). The Jazz Theory Book. Petaluma: Sher Muisc co.

3. O'Neil, J. (1992). The Jazz Method for Saxophone. London: Schott & Co., Ltd.

4. Stephens, S. (1983). Ron Carter : Bass Lines. New Albany : Jamey Aebersald.

5. Stinnett, J. (1988). Creating Jazz bass Lines. Boston : Stinnett Music.

Downloads

Published

04.06.2018

How to Cite

เลาห์วีระพานิช ธีรัช. 2018. “การอิมโพรไวส์เบื้องต้น: ความสำคัญของทางเดินเบสในการอิมโพไวส์”. Rangsit Music Journal 3 (2):37-43. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/185016.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article