เงื่อนไขการคงอยู่ปฏิบัติงานของอาจารย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

ผู้แต่ง

  • ฟาอีซ๊ะฮ์ สัจจะเจริญพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • ลัดดาวรรณ โหดนวล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • วรินยา อรุณทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • อริสา สาอิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • เทวีพร เพ็ชรประวัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • ฮาซันอักริม ดงนะเด็ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง 102 หมู่6 ตำบลควนปริง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000
  • นิพัฒน์ โพธิ์วิจิตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

คำสำคัญ:

การคงอยู่ปฏิบัติงาน, อาจารย์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทคัดย่อ

           การคงอยู่ในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นสิ่งที่องค์กรควรให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพื่อรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเงื่อนไขการคงอยู่ปฏิบัติงานของอาจารย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ทดลองใช้และปรับปรุงข้อคำถามให้สมบูรณ์ก่อนนำไปใช้สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก ที่คัดเลือกโดยวิธีการเจาะจง  20 คน ประกอบด้วยอาจารย์ที่มีอายุงานน้อยกว่า 5 ปี 8 คน และอาจารย์ที่มีอายุงานมากกว่า 5 ปี  12 คน ผลการวิจัยพบ 8 เงื่อนไขการคงอยู่ปฏิบัติงานของอาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ประกอบด้วย ลักษณะงานที่ปฏิบัติ การยอมรับความคิดเห็น สัมพันธภาพกับผู้ร่วมงาน สัมพันธภาพกับผู้บังคับบัญชา สวัสดิการ นโยบายสนับสนุนงบประมาณการทำวิจัย สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน และเครื่องมืออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน บทความวิจัยนี้เสนอว่า มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงสวัสดิการให้มีความเท่าเทียมกัน มีเจ้าหน้าที่คอยประสานงานในการขอทุนวิจัยจากแหล่งภายนอกและปรับปรุงระเบียบในการขอทุนวิจัยภายใน สร้างบรรยากาศการทำงาน สร้างขวัญกำลังใจในการทำงานของบุคลากร และปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้ดีขึ้น รวมทั้งปรับปรุงเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนให้ทันสมัย

References

เขมิกา กิตติพงศ์. (2558). ปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติของพนักงานบริษัทกรุงไทยธุรกิจบริการ จำกัดสำนักงานใหญ่ อาคารสุขุมวิท. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีสุขุมวิท. 2(2), 52-62.

ชนิตร์นันทน์ พรมมา และทศพล ธีฆะพร. (2562). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 42. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(1), 12-21.

ชนิตา เศษลือ และประเสริฐ อินทรรักษ์. (2556). แรงจูงใจในการทำงานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของครูโรงเรียนในเครือสารสาสน์. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 4(1), 24-32.

ครรชิต เชื้อขำ. (2563). รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง. สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2563.

โชติกา ระโส. (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์. ปริญญานิพนธ์ สาขาการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ฐากูร ปาละนันทน์, จารุวรรณ สกุลคู และสุชาดา สุธรรมรักษ์. (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดวิทยาลัยชุมชน. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 8(2), 14-28.

นวะรัตน์ พึ่งโพธิ์สภ. (2552). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิชาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

เนตรชนก นามเสนาะ. (2549). แรงจูงใจในการทำงานอาชีพเลขานุการสถานฑูตฯ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวงตำบลบางกะจะ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยบูรพา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55930115.pdf. (2563, 7 กุมภาพันธ์).

ประกายมาศ บาหลัง. (2563). หัวหน้าฝ่ายบริหาร สำนักงานวิทยาเขตตรัง. สัมภาษณ์, 20 สิงหาคม 2563.

ฝ่ายบริหาร สำนักงานวิทยาเขตตรัง. (2563). บัญชีรายชื่ออาจารย์ลาออก คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง. ตรัง: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พรศิลป์ ศรีเรืองไร. (2553). การศึกษาปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.repository.rmutt.ac.th. (2563, 7 กุมภาพันธ์).

พักตร์พิมล สมบัติใหม่. (2558). แรงจูงใจของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย. 6(2), 124-139

พลอยภัสสรณ์ สุจันทร์ศรี และพรสวรรค์ ศิริกัญจนาภรณ์. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ภัทรธิดา พิเคราะห์แน่, ยุภาพร ยุภาศ, และเสาวลักษณ์ นิกรพิทยา. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์ปกครองท้องถิ่นในเขตอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร. วารสารธรรมทรรศน์. 15(2), 101-108.

ภรณ์ศิรินทร์ ทันสมัย, และตวงรัตน์ เจริญดี. (2562). แรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนังงานฝ่ายการแพทย์โรงพยาบาลหัวเฉียว. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2(3), 115-128.

วนิดา พิงสระน้อย. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลที่มีต่อการทำวิจัยของบุคลากรของสายวิชาการ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.research.rmutt.ac.th. (2563, 7 กุมภาพันธ์).

วราลักษณ์ จันดี. (2559). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย 2 หลวงพ่อเงินอนุสรณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://ithesis-ir.su.ac.th. (2563, 3 กุมภาพันธ์).

วาสนา พัฒนานันท์ชัย. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

วชิรนาท ดอนแก้ว และสมเกียรติ บุญรอด. (2562). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเครือข่ายขุนน่านอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน. กาญจนบุรี: การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

ศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2557). ปัจจัยเชิงเหตุที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ. วารสารบริหารธุรกิจ. 37(142), 16-32.

ศศกร สร้อยศรี และไพโรจน์ เกิดสมุทร. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเตรียมบัณฑิต. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 3(1), 67-77

ศุภลักษณ์ ตรีสุวรรณ. (2548). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุพรรษา บรรพบุตร และอุดม พิริยสิงห์. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วน ตำบลธาตุ อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์. วารสารมหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 8(1), 1-10.

อรอุมา จันทนป และสงวน อินทร์รักษ์. (2562). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10(1), 378-390.

อารียา สตารัตน์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนรินทวิโรฒ.

อาจารีย์ ประจวบเหมาะ และรุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์. (2562). กำลังขวัญและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

อริญชญา วงศ์ใหญ่. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยีพายับและบริหารธุรกิจ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อาภาสิริ ชามะรัตน์, ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์ และสุคนธ์ เครือน้ำคำ. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชี องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดอุดรธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 1(2), 228-236.

Emmel, N. (2013). Sampling and choosing cases in qualitative research: A realist approach. doi:10.4135/9781473913882.n10

Ganta, V. C. (2014). Motivation in the workplace to improve the employee performance. International Journal of Engineering Technology, Management and Applied Sciences. 1(6), 221-230.

Herzberg, F. (1959). The motivation to work. New York: John Wiley & Sons.

Kurmar, K. (1989). Conducting key informant interviews in developing countries. [Online], Available:http://ithesis-ir.su.ac.th. (2020, 3 February).

Patton, M. Q. (1990). Qualitative evaluation and research methods. Bevery Hills, CA: Sage.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-08-2020