การวิเคราะห์คอมโพสิตเชิงยืนยันของความพึงพอใจการเรียนออนไลน์ ของนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ผู้แต่ง

  • ปริยากร สว่างศรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
  • ฉันธะ จันทะเสนา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ศิริพร จิระชัยประสิทธิ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์คอมโพสิตเชิงยืนยัน, ความพึงพอใจ, การเรียนออนไลน์, นักศึกษาหลักสูตรบัญชี

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาอิทธิพลปัจจัยด้านคณาจารย์ เทคโนโลยี ระบบ การปฏิสัมพันธ์ และผลลัพธ์ของการเรียนที่มีต่อความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ในการเรียนออนไลน์โดยใช้แบบสอบถาม โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์ คอมโพสิตเชิงยืนยัน หลักสูตรบัญชีบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์มีนักศึกษา จำนวน 245 คน และเก็บตัวอย่างจำนวน 153 คน ผลการศึกษาพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจทางด้านเทคโนโลยี ระบบ และผลลัพธ์ การศึกษานี้เสนอให้มีการพัฒนาการเรียนการสอนออนไลน์เพื่อให้นักศึกษามีความพึงพอใจด้านคณาจารย์และการปฏิสัมพันธ์เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามการปฏิสัมพันธ์เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนออนไลน์

References

ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร และอัครเดช เกตุฉ่ำ. (2564). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความตั้งใจ ใช้การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาในช่วงการระบาดของโรคโควิด 19: การวิเคราะห์โมเดลสมาการโครงสร้าง. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล. 7(2): 155-166.

อโรชา ทองลาว พัลลภ สุวรรณฤกษ์ สมเกียรติ ไทยปรีชา และศศิน เทียนดี. (2563). การศึกษา ความพึงพอใจของนิสิตมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพง ต่อการจัดการเรียน การสอนรูปแบบออนไลน์ ประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2563. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ. 4(2): 617-632.

อัสนีย์ เหมกระศรี. (2561) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์บทปฏิบัติการชีววิทยาภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. การประชุมวิชาการ ระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 6 ประจำปี 256.1

Arbaugh, J. B. (2001). How instructor immediacy behaviors affect student satisfaction and learning in web-based courses. Business Communication Quarterly. 64(4), 42-54.

Bolliger, D. U. (2004). Key factors for determining student satisfaction in online courses. International Journal on E-learning. 3(1), 61-67.

Carnaghan, C., & Webb, A. (2007). Investigating the effects of group response systems on student satisfaction, learning, and engagement in accounting education. Issues in Accounting Education. 22(3), 391-409.

Dahlstrom, E., Walker, J. D., & Dziuban, C. (2013). ECAR study of undergraduate students and information technology. (p. 2013). 2013.

Elshami, W., Taha, M. H., Abuzaid, M., Saravanan, C., Al Kawas, S., & Abdalla, M. E. (2021). Satisfaction with online learning in the new normal: perspective of students and faculty at medical and health sciences colleges. Medical Education Online, 26(1), 1920090.

Hair Jr, J. F., Howard, M. C., & Nitzl, C. (2020). Assessing measurement model quality in PLS-SEM using confirmatory composite analysis. Journal of Business Research. 109, 101-110.

Henseler, J., Dijkstra, T. K., Sarstedt, M., Ringle, C. M., Diamantopoulos, A., Straub, D. W. & Calantone, R. J. (2014). Common beliefs and reality about PLS: Comments on Rönkkö and Evermann (2013). Organizational research methods. 17(2), 182-209.

Henseler, J., & Schuberth, F. (2020). Using confirmatory composite analysis to assess emergent variables in business research. Journal of Business Research, 120, 147-156.

Hubona, G. S., Schuberth, F., & Henseler, J. (2021). A clarification of confirmatory composite analysis (CCA). International Journal of Information Management, 61, 102399.

Jhantasana, C. (2022). Intrinsic and Extrinsic Motivation for University Staff Satisfaction: Confirmatory Composite Analysis and Confirmatory Factor Analysis. Asia Social Issues. 15(2), 249810-249810.

Ke, F., & Kwak, D. (2013a). Constructs of student-centered online learning on learning satisfaction of a diverse online student body: A structural equation modeling approach. Journal of Educational Computing Research. 48(1), 97-122.

Ke, F., & Kwak, D. (2013b). Online learning across ethnicity and age: A study on learning interaction participation, perception, and learning satisfaction. Computers & education. 61, 43-51.

Parahoo, S. K., Santally, M. I., Rajabalee, Y., & Harvey, H. L. (2016). Designing a predictive model of student satisfaction in online learning. Journal of Marketing for Higher Education. 26(1), 1-19.

Shirky, C. (2008). Here comes everybody: The power of organizing without organizations. Penguin.

Soper, S. C. (2022, February). International Sympathy for Political Prisoners: Historical Roots in Europe’s Long Age of Revolution, 1789–1848. In AHA22 Online. AHA.

Topala, I., & Tomozii, S. (2014). Learning satisfaction: validity and reliability testing for students’ learning satisfaction questionnaire (SLSQ). Procedia-Social and Behavioral Sciences, 128, 380-386.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-12-2022