ปัจจัยการปฏิบัติงานบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของผู้ปฏิบัติงานบัญชีในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพการทำงาน, ผู้ปฏิบัติงานบัญชี, ปัจจัยการปฏิบัติงานบัญชีบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยการปฏิบัติงานบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของผู้ปฏิบัติงานบัญชีในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปฏิบัติงานบัญชีของวิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 210 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ซึ่งได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียรสัน การวิเคราะห์ การถดถอยแบบพหุคูณ เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการปฏิบัติงานบัญชีของผู้ปฏิบัติงานบัญชีของวิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการปฏิบัติงานด้านความรู้ทางการบัญชีของผู้ปฏิบัติงานบัญชีปัจจัยการปฏิบัติงานด้านการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดทำบัญชี ปัจจัยการปฏิบัติงานด้านความเข้าใจในขั้นตอนจัดทำบัญชีผู้ทำบัญชี และปัจจัยการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของผู้ปฏิบัติงานบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิจัยในครั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำผลการวิจัยไปวางแผนการในพัฒนาบุคลากร ในหน่วยงานที่สนับสนุนให้ผู้ทำบัญชีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กษมาพร ยังส้มป่อย. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) ในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย. คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
กิตติคุณ ลาภเบญจพร. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในสำนักงานบัญชีเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ณัชชา ไชยวงค์. (2560). ความรู้ความสามารถของนักบัญชีที่มีต่อประสิทธิผลการทำงานของนักบัญชีในจังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยนอร์ทเทริน์.
ธันยพร วิศรียา. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรของประชากรวัยทำงาน GENERATION Y หลังสถานการณ์ COVID-19. วารสารวิชาการการตลาด และการจัดการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 11(1): 125-146.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2553). คูมือการเขียนโครงการวิจัย. วารสารการวัดผลการศึกษา. 12(35): 43 –72.
นัทวัฒน์ นคราวงศ์. (2561). การกระตุ้นความตั้งใจซื้อสินค้าแบรนด์เนมโดยใช้กลยุทธ์การตั้งราคา ต่ำกว่าจำนวนเต็ม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และปวีนา กองจันทร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดทำบัญชีของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 10(1): 1926-1942.
ภัสณที นุ่มประเสริฐ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการดำเนินงานการเงินและบัญชี ของหน่วยงานทหารในกรุงเทพมหานคร. ค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
รุจิจันทร์ พิริยะสงวนพงศ์. (2554). สารสนเทศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สรศักดิ์ ธนันไชย. (2551). ทักษะทางวิชาชีพของนักบัญชีในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน. การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2563). เกี่ยวกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: htp://www.vec.go.th/th (2566, 18 ตุลาคม 2566).
อาทรณ์ กิจจา และอุษณา แจ้งคล้อย. (2560). ความเครียดในการทำงานของนักบัญชีในองค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตจังหวัดนครราชสีมา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://kkbsjournal.kku.ac.th/register/journalfull/1-1/03.pdf. (2562, 4 พฤษภาคม).
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing. (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (2nd ed). New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 รัตติยา กันทร, ปานฉัตร อาการักษ์, อรวรรณ เชื้อเมืองพาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์แต่ละท่าน มิใช่เป็นทัศนะและมิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการจัดทำวารสาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์