การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ สำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทางการบัญชี

Main Article Content

ดวงใจ สมภักดี

บทคัดย่อ

This research and development design aims to develop active learning instructional model on information technology for career management for high vocational certificate in accounting, study of the effectiveness of active learning instructional model active learning instructional model by criteria (E1 / E2) was 80/80,  compares the achievement, and study student's satisfaction on active learning model of information technology for career management.Research were divided into 2 phases: Stage 1 develops an active learning instructional model, study on state of teaching and learning management of information technology for career management. The target population were 13 teachers and 207 students from purposive sampling. The questionnaires were collected using a 5-level rating scale. Stage 2: evaluating quality of an active learning instructional model on information technology for career management for high vocational certificate in accounting. The sample consisted of 37 students from the 1/3 of the 1st semester. The tools used in this development were active learning instructional model in information technology for career management.  Data were collected by using achievement test and satisfaction assessment form. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Paired t-test.


The results of this study showed that: 1) model of active learning instructional in information technology for occupational management consists of 7stages (ETBOPRA model):(1)engagement (2) transfer (3)Brainstorming (4) observe (5) practice (6) reflect, and (7) apply. 2) The quality of active learning management model was found to be effective (E1 / E2) of 88.11 / 85.77, after development, it was found that students who passed active learning instructional model on information technology for career management, the difference in achievement was higher than before development (p-value =0.001), difference in achievement scores were 8.05 (95% CI 7.06-9.04), and students were satisfied with level of active learning instructional in information technology for career management at high level.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] สำนักผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิจัยและพัฒนาการศึกษา.(2559). รายงานการวิจัยแนวโน้มภาพอนาคตการศึกษาและการเรียนรู้ของไทยในปี พ.ศ. 2573. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. หน้า 1-3.
[2] วิทยาลัยอาชีวศีกษาร้อยเอ็ด. (2559). รายงานการประเมินตนเองประจำปี. วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด.
[3] Bonwell, Charles C., and James. A. Eison. (1991). Active Learning; Creating Excitement in the Classroom.ASHE-ERIC Higher Education Report No. 1. Washington, D.C.: The George Washington University, School of Education and Human Development.
[4] Meyers, C. and Jones, T. (1993). Promoting active learning: strategies for the college classroom.San Francisco: Jossey-Bass.
[5] Felder, R. M., & Brent, R. Navigating the Bumpy Road to Student–Centered Instruction.Journal of College Teaching.
44 (2), 43–47, 1996.
[6] เมษ ทรงอาจ. (2558). รูปแบบการเรียนการสอนรายวิชาจิตวิทยาสำหรับครู (200204) โดยใช้การสอนแบบมีส่วนร่วมของนิสิตปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น,300 หน้า.
[7] สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2545). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สมศ.
[8] ปรียา สมพืช. การจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนด้วยกรณีศึกษา. วารสารวิจัยราชภัฏพระนครสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.11 (2): กรกฎาคม-ธันวาคม 2559 ; 260-270.
[9] Colleen, J. Designing Web-Based Instruction: Research and Rationale. [Online]. 1996.
[10] Sweller, J. (2006). The worked example effect and human cognition: Learning and Instruction.New Jersey: Educational Technologies.
[11] เนาวนิตย์ สงคราม. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อสร้างองค์ความรู้และความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์บัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10 (2) : 2 (พฤศจิกายน 2555–มีนาคม 2556).
[12] เบญจพร สว่างศรี .(2559). ผลการจัดกิจกรรมการสอนคณิตศาสตร์เชิงรุกเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. 103 หน้า.
[13] นนทลีพร ธาดาวิทย์. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในวิชาการจัดการเรียนรู้สาขาหลักสูตรและการสอนคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี. วารสารวิจัย UTK ราชมงคล กรุงเทพ.11 (1) : มกราคม-มิถุนายน 2560 ; 85-94.
[14] จิรภา อรรถพร และประกอบ กรณีกิจ. (2557). การ พัฒนารูปแบบการสอนเชิงรุกออนไลน์เพื่อส่งเสริม พฤติกรรมการเรียนรู้ของนิสิตปริญญาบัณฑิต. วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา.9 (4) : 2557;122-136.
[15] Cohen, L.; Manion, L.; & Morrison, K. (2007). Research Methods in Education. 6thed. London: Routledge.
[16] จิราภรณ์ พิมใจใส .(2553). การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริม ความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร ; 231 หน้า.
[17] นัทธีรัตน์ พีระพันธุ์. การพัฒนารูปแบบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์. 25 (3) : กันยายน-ธันวาคม 2557; 19-34.
[18] วิชัย กงพลนันท์ .(2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา. การประชุมทางวิชาการของคุรุสภาประจำปี 2557เรื่อง “การวิจัยเพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพ” กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ; 241-249.
[19] อดุลย์ ภัยชำนาญ, วิชัย นภาพงศ์ และผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานในรายวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา. วารสารวิชาการอัล-ฮิกมะฮฺ. มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา.(6) :กรกฎาคม-ธันวาคม 2556; 11-22.
[20] ปนัดดา วรกานต์ทิวัตถ์ .(2558). การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนในรายวิชาสุนทรียศาสตร์ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก. กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี วิทยาลัย
อาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภ์ฯ.
[21] ปณิตา วรรณพิรุณและชลิต กังวาราวุฒิ. การพัฒนารูปแบบการสอนแบบส่งเสริมจินตนาการผ่านสื่อสังคมคลาวด์เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.13 (1) : มกราคม-มิถุนายน 2559; 72-80.
[22] น้ำลิน เทียมแก้วและรุ่งเรือง สิทธิจันทร .(2557). การพัฒนารูปแบบการบริการสารสนเทศเชิงรุกฉับไว ทันใจผู้ใช้บริการPULINET Journal.. 1 (3) : กันยายน-ธันวาคม 2557 ; หน้า 37- 43.