สไตล์การเรียนรู้ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงในศตวรรษที่ 21 วิชาวิทยาศาสตร์เพื่องานเครื่องกลและการผลิต รหัสวิชา 3000-1302 วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสไตล์การเรียนรู้ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ในศตวรรษที่ 21 วิชาวิทยาศาสตร์เพื่องานเครื่องกลและการผลิต รหัสวิชา 3000-1302 วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกศึกษาวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่องานเครื่องกลและการผลิต รหัสวิชา 3000-1302 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสไตล์การเรียนรู้ของนักศึกษา จำนวน 1 ฉบับ ค่าความเชื่อมั่น 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นต่อสไตล์การเรียนรู้ทั้ง 6 แบบ ดังนี้ สไตล์การเรียนรู้ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ แบบร่วมมือ อันดับที่ 2 คือ แบบพึ่งพา อันดับที่ 3 คือ แบบมีส่วนร่วม อันดับที่ 4 คือ แบบอิสระ อันดับที่ 5 คือ แบบแข่งขัน ส่วนสไตล์การเรียนรู้ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ แบบหลีกเลี่ยง
Article Details
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
[2] วิจารณ์ พานิช. การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษ ที่ ๒๑. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์ ส. เจริญการพิมพ์.พ.ศ. 2556, หน้า หน้า 13-16.
[3] ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. “นวัตกรรมและสื่อในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21”, วารสารวิชาการ Veridian E-Journal Silpakorn University, ปีที่ 9 (1), พ.ศ. 2559, หน้า 560-581.
[4] กระทรวงศึกษาธิการ. กรอบมาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ. 2551 (ออนไลน์) อ้างเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2560. จาก: http://bsq2.vec.go.th/crouse_manage
[5] สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 (ออนไลน์) อ้างเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2560, จาก: http://www.stjohn.ac.th/
[6] สิทธิพล อาจอินทร์. “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์”, วารสารวิจัย มข, ปีที่ 16 (1), พ.ศ. 2554, หน้า 72-82.
[7] แสงเดือน เจริญฉิม. “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนและการสร้างมโนทัศน์และการแก้ปัญหาในวิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย”, วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาดุษฎับัณฑิต สาขาการพัฒนาหลักสูตรและการสอน นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, พ.ศ. 2552, หน้า 4.
[8] ขนิษฐา กฤษวี และสมทรง สิทธิ. “การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองประกอบการเรียนรู้แบบผังกราฟิก กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 10 (ฉบับพิเศษ), พ.ศ. 2559, หน้า 120-134.
[9] ณัฏฐาภรณ์ โสกัณฑัต. “พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง กรณีศึกษาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร”, วารสารกระบวนการยุติธรรม, ปีที่ 7 (3), พ.ศ. 2557, หน้า 99-120.
[10] สิทธิศักดิ์ จินดาวงค์. “การศึกษาปัญหาการเรียนรู้ ระดับความต้องการพัฒนาการรับรู้และการเข้าถึงสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศของครูแกนนำวิทยาศาสตร์”, วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษญ์ศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 5 (9), พ.ศ. 2556, หน้า 153.
[11] สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา. รายงานการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติงาน รอบที่สามประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี พ.ศ. 2556.
[12] Grasha, A.F., and Riechman 1970. rasha-Riechmann learning styles survey. [Online]. [2017, July 22] Available from : http://library.cuesta.cc.ca.us/distance/lrnstyle.htm
[13] กรรณิการ์ อนัคฆกุล. “รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา”, วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา, ปีที่ 8(2), พ.ศ.2559, หน้า 162-173.
[14] ณพัฐอร บัวฉุน. “สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป”, วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปีที่ 11 (2), พ.ศ. 2559, หน้า 97-109.
[15] บรรจง พลขันท์. “แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยการอาชีพวาปีปทุม”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, ปีที่ 4(1), พ.ศ. 2555, หน้า 89-107.
[16] สิปปนนท์ เกตุทัต. “แนวคิดเกี่ยวกับทิศทางและนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย”. วารสารวิชาการ, ปีที่ 1(5), พ.ศ. 2541, หน้า 2-15.
[17] ศักรินทร์ ชนประชา. “ทฤษฏีการเรียนรู้ผู้ใหญ่ : สิ่งที่ครูสอนผู้ใหญ่ต้องเรียนรู้”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, ปีที่ 25(2), พ.ศ.2557, หน้า 14-23.
[18] ประสาร ศรีพงษ์เพลิด. “สไตล์การเรียนรู้กับสไตล์การสอน”. วารสารสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 6, พ.ศ. 2560, หน้า 64-86.
[19] สาธิตา จอกโคกกรวด. “แบบการเรียนรู้ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์”. รายงานสืบเนื่องจาการประชุมวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2, พ.ศ.2561, หน้า 17-931.
[20] Krejcie, R. V. & Morgan, D. W.Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 1970, pp. 607-610.
[21] บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น, พิมพ์ครั้งที่ 9 สํานักพิมพ์สุวีริยาสาส์น, พ.ศ. 2554, หน้า 21.
[22] ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ พิมพ์ครั้ งที่ 21 สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2560, หน้า 265.
[23] รัตนาภรณ์ ปิ่นแก้ว. “รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง”.วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, ปีที่ 12 (1), พ.ศ. 2556, หน้า 162-169.