การสังเคราะห์งานวิจัยด้านอาชีวศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มอุตสาหกรรม การสังเคราะห์งานวิจัยด้านอาชีวศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มอุตสาหกรรม

Main Article Content

เรืออากาศโทสมพร ปานดำ
ดร.วรวิทย์ ศรีตระกูล

บทคัดย่อ

        บทความฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับด้านอาชีวศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ของกลุ่มอุตสาหกรรม โดยศึกษารวบรวม และสังเคราะห์งานวิจัยทั้งสิ้น 26 งานวิจัย โดยสังเคราะห์ใน 6 ประเด็น ประกอบไปด้วย ประเด็นที่ 1 ด้านหลักสูตร  ประเด็นที่ 2 ด้านครู ประเด็นที่ 3 ด้านผู้เรียน ประเด็นที่ 4 ด้านการจัดการเรียนการสอนจำนวน  ประเด็นที่ 5 ด้านการบริหารจัดการ ประเด็นที่ 6 ด้านความร่วมมือ และ ประเด็นที่ 7 เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวนโยบายและแนวโน้มการพัฒนา          ผลการสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับด้านอาชีวศึกษา สามารถนำมาจัดทำเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการอาชีวศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ของกลุ่มอุตสาหกรรม และเป็นแนวทางการปฏิบัติ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ จัดทำโรงการต่าง ๆ เพื่อการสร้างกำลังคนอาชีวศึกษาให้มีความสามารถผสมผสานวิชาการด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมให้เข้ากับทักษะทางด้านช่าง สร้างนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ควบคู่กับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อันจะนำไปสู่การยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยี ให้กับภาคการผลิตของประเทศ

Article Details

บท
บทความพิเศษ

References

[1] สมพร ปานดำ. “ยุทธศาสตร์การผลิตกำลังคนอาชีวศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทอุตสาหกรรมรองรับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ., ปีที 33 (ฉบับที่116), 22-28, 2563.
[2] Giles, Sunnie. (2018). “How VUCA Is Reshaping The Business Environment, And What It Means For Innovation” [Online]. Available: https://www.forbes.com. [Accessed:April. 27, 2021].
[3] ประสาท มีแต้ม, “ทำให้โลกของเรายิ่งใหญ่อีกครั้ง : Make Our Planet GreatAgain” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.life.ac.th/2017/index. php/component/k2/item/543-make-our-planet-great-again. 1 ตุลาคม 2564.
[4] ธนาคาร คุ้มภัยและคณะ. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเรื่องเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้1., ปีที 5 (ฉบับที่1), 33-41, 2563.
[5] นรรัชต์ ฝันเชียร. การส่งเสริมการศึกษาไทยเพื่อรับมือกับโลกยุค VUCA. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/blog/content/76134/-blog-teaartedu-teaart-. 2 ตุลาคม 2564
[6] สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. สรุปสาระสำคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.library.coj.go.th/Info/ 48341?c=7236996. 2 ตุลาคม 2564.
[7] จิตรดา หมายมั่น และสมบัติ ทีฑทรัพย์,“ อุตสาหกรรม 4.0: ตอนที่ 1 - ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม”, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 10 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2560, หน้า 39-49.
[8] คมกฤตย์ ชมสุวรรณ และคณะ, การศึกษาเปรียบเทียบเพื่อยกระดับการพัฒนาช่างเทคนิค พรีเมี่ยมสาขาแมคคาทรอนิกส์และ หุ่นยนต์กับสาขาเทคนิคควบคุมและ ซ่อมบำรุงระบบขนส่งทางรางให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), พ.ศ.2563
[9] สาโรจน์ ขอจ่วนเตี๋ยว,“การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา ประเภทช่างอุตสาหกรรมภายใต้นโยบายประเทศไทย 4.0”, วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา.
[10] มนูญกิตติ์ คำทอง, ขวัญชัย กรพันธ์ และ นิชฌานันท์ ห้องสินหลาก,“การเสริมกำลังเสาคอนกรีต”, วารสารวิจัย ม.ข., ปีที่ 5, พ.ศ.2554, หน้า 100-106.
[11] ศักดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ,“ความสามารถในการแขงขันของประเทศกับการพัฒนาอยางยั่งยืน : กรณีศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศสิงคโปรและประเทศไทย”, Journal of the Association of Researchers, ปีที่ 25 (ฉบับที่ 3), พ.ศ.2563, หน้า 9-27.
[12] ฉันทนา ปาปัดถา และคณะ,“การสังเคราะห์และพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลครูอาชีวศึกษา เพื่อรองรับนโยบายประเทศไทย 4.0”, วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, ปีที่ 4(ฉบับที่ 1), พ.ศ.2564, หน้า 2-17.
[13] ประไพ นำธวัช,“โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบ คลังปัญญาเพื่อการผลิตและพัฒนาช่างเทคนิค: กรณีศึกษาสาขาปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์”, รายงานการวิจัย. สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย:กรุงเทพฯ. พ.ศ.2563.
[14] อลงกรณ์ เลิศปัญญา และสบสันติ์ อุตกฤษฏ์,“การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูในการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหางาน”, วารสารวิชาการครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 10(ฉบับที่ 2), พ.ศ.2562, หน้า 138-147.
[15] วรัตถ์พัชร์ ทวีเจริญกิจ,“การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะในการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียนอาชีวศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้”, วารสารราชพฤกษ์, ปีที่ 17 (ฉบับที่ 1), พ.ศ.2562, หน้า 86-93.
[16] วัชรศักดิ์ สุดหล้า,“นักศึกษาให้ความสำคัญกับทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัลอย่างไร? การศึกษานำร่องโดยใช้การวิเคราะห์เอ็มดีเอสและเอ็มดียู”, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, ปีที่ 13 (ฉบับที่ 1), พ.ศ.2554, หน้า 114-130.
[17] มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย :TDRI, โครงการศึกษาการพัฒนากําลังคนด้านดิจิทัล (Digital Manpower) เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) และ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC), มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย: กรุงเทพมหานคร, พ.ศ.2563.
[18] ชุติมา ไชยเสน,“การศึกษาทักษะที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจําปีการศึกษา 2562”, รายงานการวิจัย (Research reports), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, พ.ศ.2562.
[19] กนก พานทอง,“การพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับอาชีวศึกษา”, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 27 (ฉบับที่ 3), พ.ศ.2562, หน้า 10-22.
[20] รังสรรค์ ทบวอ,“การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานออนไลน์ ที่มีการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทกนิคความผูกพันของผู้เรียน สำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 13 (ฉบับที่ 3), พ.ศ.2562, หน้า 183-194.
[21] กุลจิรา ทองย้อย,“ รูปแบบสมรรถนะครูเกื้อหนุนในระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการร่วมกับการทำงานสำหรับอาชีวศึกษา”, วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, ปีที่ 15 (ฉบับที่ 3), พ.ศ.2564, หน้า 41-57.
[22] ภูมิพัฒน์ วนพิพัฒน์พงศ์,“การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning: PjBL) โดยการใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก”, วารสารวิชาการ T-Vet Journal สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3, ปีที่ 5 ฉบับที่ 9, พ.ศ.2564, หน้า 156-171.
[23] พงษ์สนิท แสงจินดา,“การจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อการบรรลุมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4”, วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, ปีที่ 12 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2563, หน้า 126-139.
[24] ณัฐพล ธิตินานันทกูล,“การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 : การประยุกต์ใช้พหุแนวคิด”, Journal of Graduate of Studies Valaya Alongkorn Rajaphut University, ปีที่ 15 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2564, หน้า 54-66.
[25] กฤษธเนศ จันดาอาจ,“แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานอาชีวศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาขอนแก่น”, Journal of Roi Kaensarn Academi, ปีที่ 6 (ฉบับที่ 6), พ.ศ.2564, หน้า 233-246.
[26] เจริญ ศรีแสง,“การศึกษาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคระยอง”, หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, พ.ศ.2562, มหาวิทยาลัยบูรพา.
[27] วรรณา ตันประภัสร์,“การพัฒนาระบบความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ”, วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, ปีที่ 9 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2559, หน้า 38-45.
[28] สมพร ปานดำ,“การพัฒนาความร่วมมือกับภาคประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาเชิงรุก ประเภทวิชาอุตสาหกรรม”, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ 7 (ฉบับที่ 8), พ.ศ.2563, หน้า 381-397.
[29] สุนันทา พลโภชน์, “รูปแบบความร่วมมือการผลิตนักศึกษาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี : กรณีศึกษาการผลิตช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี สาขาปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด”, สำนักอำนวยการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, พ.ศ.2561.
[30] ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์ และคณะ,“โครงการขับเคลื่อนการจัดการอาชีวศึกษา และระบบทวิภาคีเชิงพื้นที่”,สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), พ.ศ.2563.
[31] ชุติระ ระบอบ,“การพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ยุค 4.0”, วารสาร ธุรกิจปริทัศน์, ปีที่ 9 (ฉบับที่ 2), พ.ศ.2560, หน้า 249-267.
[32] ธัญญ์พิชชา ท้วมทับ และคณะ,“แนวทางการป้องกันการออกกลางคันของนักศึกษา กลุ่มเสี่ยง กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์”, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ 7 (ฉบับที่ 8), พ.ศ.2563, หน้า 381-397.
[33] ธีรวุฒิ บุณยโสภณ และคณะ,“การจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม เพื่อก้าวไปสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้”, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 21 (ฉบับที่ 1), พ.ศ.2554, หน้า 148-156.