แบบจำลองการดำเนินงานดิจิทัลเพื่อการจัดการกองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษาในห่วงโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การวิจัยนี้เพื่อพัฒนา และประเมินแบบจำลองการดำเนินงานดิจิทัลเพื่อการจัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในห่วงโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านห่วงโซ่อุปทาน จำนวน 10 คนซึ่งคัดเลือกโดยการสุ่มแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยนี้พบว่า แบบจำลองการดำเนินงานดิจิทัลเพื่อการจัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในห่วงโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยมี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบหลักผู้ส่งมอบ ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาเขต ลูกค้า ผู้บริโภค ความพึงพอใจ และการคืนกลับ ผลการประเมิน ผู้ทรงคุณวุฒิยอมรับแบบจำลองมีความเหมาะสมระดับมาก (= 4.07, =0.93 ) เห็นว่าแบบจำลองการดำเนินงานดิจิทัลเพื่อการจัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในห่วงโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย สามารถนำไปใช้ทำงานได้จริง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา, “คู่มือการบริหารจัดการสิทธิ์ของผู้ใช้งานในระบบกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาแบบดิจิทัล”, [Online]. https://www.studentloan.or th/th/news/1640667313. (เข้าถึงเมื่อ 3 กรกฎาคม 2566).
ณัฐวิน อัศวภูวดล, “ปัญหาการใช้เงินกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2541”, [Online]. http://www.journal.nmc.ac.th /th/admin/Journal/2559Vol10No1_23.pdf. (เข้าถึงเมื่อ 3 กรกฎาคม 2566).
ประคอง กรรณสูต, สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข), หน้า340, กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ ดร. ศรีสง่า, 2528.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการที่มีต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนองประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. [Online]. http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER13/DRAWER007/GENERAL/DATA0000/00000286.PDF. (เข้าถึงเมื่อ 3 กรกฎาคม 2566).
สุริยา ฆ้องเสนาะ, “กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กับการไม่ชำระหนี้”,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักวิชาการสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา, 2563.
อรรถพล จันทร์สมุด, “ระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา” ,วารสารวิชากามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 36 ฉบับ 2, หน้า: 210-221, 2559.
อรรถพล จันทร์สมุด และ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์, “ระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ”, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2559.
อรรถพล จันทร์สมุด, “ความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทานในสถาบันอุดมศึกษา”, วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี, ปีที่ 3 ฉบับที่ 5, หน้า 1-8, 2556.
อรรถพล จันทร์สมุด, “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการห่วงโซ่อุปทานด้านการผลิตบัณฑิต”, วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, ปีที่ 2 ฉบับที่ 3, หน้า 41-47, 2555.
Chansamut, A., and Piriyasurawong. P, “Conceptual Framework of Supply Chain Management Information System for Curriculum Management Based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education”, International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC), 5(4): 33-45, 2014.
Chansamut, A., and Piriyasurawong. P, “Supply Chain Management Information System for Curriculum Management Based on The National Qualifications Framework for Higher Education”, International Journal of Supply and Operations Management , 6(1) : 88-93, 2019.
Chansamut, A , “Supply chain in digital operation model for student loan fund management for higher education in Thailand”, International Journal of supply chain management (IJSCM), 11(2): 17-20, 2022.
Habib. M, “An empirical Research of ITESECM: integrated tertiary educational supply chain management model”, [Online]. http://www.academia.edu/MamunHabib. ( Accessed : 1 July 2023).
Habib, M. and Jungthirapanich. C, “Research Framework of Education Supply Chain, Research Supply Chain and Educational Management for the Universities”. [Online]. http://www.academia.edu/MamunHabib. ( Accessed : 1 July 2023).
Habib, M. and Jungthirapanich. C “An Empirical Study of Educational Supply Chain Management for The Universities”. [Online]. http://www.academia.edu/MamunHabib. ( Accessed : 1 July 2023).
Habib, M. and Jungthirapanich, C.“Integerated Education Supply Chain Management (IESCM) Model for the Universities”. [Online]. http://www.academia.edu/MamunHabib. (Accessed : 1 July 2023).
Kaewngam, A. Chatwattana.. P., Piriyasurawong, “Supply chain Management Model in Digital Quality Assurance for ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA) Higher Education Studies”, 9(4) : 12-20, 2019.