ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับทุเรียน พฤติกรรมการทำสวนทุเรียน กับคุณภาพชีวิตเกษตรกรชาวสวนทุเรียนในเขตพื้นที่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี

Main Article Content

ธนบดี พัสนา
ชัยรัตน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง
กนิษฐา แย้มโพธิ์ใช้

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้เกี่ยวกับทุเรียน พฤติกรรมการทำสวนทุเรียนและคุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนทุเรียนในเขตพื้นที่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับทุเรียนและพฤติกรรมการทำสวนทุเรียน กับคุณภาพชีวิตเกษตรกรชาวสวนทุเรียน กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 344 ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
เพียร์สัน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษาพบว่า ความรู้เกี่ยวกับทุเรียน อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 0.96) พฤติกรรมการทำสวนทุเรียน อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.35) คุณภาพชีวิต
ของเกษตรกรชาวสวนทุเรียน อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.08) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าความรู้เกี่ยวกับทุเรียน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนทุเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนพฤติกรรมการทำสวนทุเรียน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนทุเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุสุมา โกศล. (2555). คุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนยางในยุคเศรษฐกิจถดถอย: ศึกษากรณีจังหวัดสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์รัฐ

ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ขนิษฐา วิเมศ. (2542). การศึกษาปัญหาและการพัฒนาคุณภาพทุเรียน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ณรงค์ศักดิ์ เสนาณรงค์ และคณะ. (2546). โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการผลิตและการตลาดทุเรียนเพื่อการส่งออก. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร.

ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ. (2558). เกษตรอัจฉริยะ…จุดเปลี่ยนอาหารโลก. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://thansettakij.com/2015/09/15/1102.

(2562, 17 เมษายน ).

นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2553). โครงการศึกษาแนวทางการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ของสินค้าเกษตร. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา

ประเทศไทย.

ปิ่นสอาด สหนาวิน. (2553). คุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร. ปริญญานิพนธ์ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. พนิษฐา พานิชาชีวะกุล และเพ็ญจันทร์ ประดับมุข. (2542). รายงานการวิจัยคุณภาพชีวิตของเกษตรอีสาน : มุมมองจากประชาชน. ขอนแก่น:

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ. (2550). การสำรวจโดยการสุ่มตัวอย่าง : ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

ยิ่งศักดิ์ ไกรพินิจ, ธีระวัฒน์ จันทึก และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2560). การจัดการการเกษตรสมัยใหม่ของประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์

ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 12(2), 115-127.

ฤทัยชนก จริงจิตร. (2556). เจาะลึก “Smart Farmer” แค่แนวคิดใหม่ หรือจะพลิกโฉมการเกษตรไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก:

http://tpso.moc.go.th/img/news/1074-img.pdf. (2562, 3 ตุลาคม).

วิชาญ ชัยอ่อน. (2559). Academic Focus ประเทศไทย 4.0. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: http://dl.parliament go.th/handle/lirt/493129.

(2562, 18 เมษายน).

เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2559). นโยบายการเกษตรและอาหารอัจฉริยะก้าวเดินแห่งความหวังของไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก:

http://www.beartai.com. (2562, 18 เมษายน).

สำนักงานเกษตรอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. (2561). จำนวนครัวเรือนเกษตรกร. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://thamai.chanthaburi.doae.go.th.

(2562, 18 เมษายน).

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2559). แนวทางการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ SMEs ที่มีการเติบโตสูงของประเทศไทย (SMEs High Growth

Sectors). [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.sme.go.th. (2560, 5 ธันวาคม).

อรวรรณ วัฒนยมนาพร. (2558). ล้งจีน: การครอบงำการค้าผลไม้ไทย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.ag ebook.lib.ku.ac.th/

ebooks/2011/2011-005-0055/index.html#/. (2562, 12 มกราคม).

Chai-on W. (2016). Academic Focus: Thailand 4.0. [Online], Available: http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/493129. (2019, 18 April).

[in Thai].

Jingjit R. (2013). In-depth Interview "Smart Farmer" --- Just a New Idea or New Version of Thai Agriculture. [Online], Available:

http://www.beartai.com. (2019, 3 October). [in Thai].

Kerdcharoen T. (2015). Smart Farming: The Turing Point for World Food. [Online], Available: http://thansettakij.com/2015/09/15/1102.

(2018, 17 April). [in Thai].

Kosol k. (2012). The Quality of Life of the Rubber Agriculturists in the Economic. Recession : A Case Study of Surat Thani and Nakhon

Si Thammarat Provinces. Master’s Thesis in Public Administration, National Institute of Development Administration. [in Thai].

Kraipinit Y., Chantuk T., and Siriwong P. (2017). New Agricultural Management of Thailand. Journal of Humanities and Social Sciences

Valaya Alongkorn. 12(2): 115-127. [in Thai].

Panichacheewakul P. and Pradubmook P. (1999). Research Report in Quality of Life of The Northeast Agriculture: Public View.

Khon Kaen: Khon Kaen University. [in Thai].

Pitaktepsombati P. (2007). The Sample Survey: Theory and Practice. (4th ed). Bangkok: Sema Tham Press. [in Thai].

Poapongsakorn N. et al. (2010). Study of Supply Chain Management and Logistics of Agricultural Products. Bangkok: Thailand

Development Research Institute. [in Thai].

Sahanavin P. (2010). Members of Agricultural Cooperative Limited’s Quality of Life. Doctoral dissertation in Sociology, Ramkhamhaeng

University. [in Thai].

Senanarong N. et al. (2003). Research program for development of production and marketing of durian for export. Bangkok:

Department of Agriculture. [in Thai].

Thamai District Agricultural Extension Office, Chanthaburi Province. (2018). Number of Farmer Households. [Online], Available:

http://thamai.chanthaburi.doae.go.th. (2019, 18 April). [in Thai].

The Office of SMEs Promotion. (2016). Guidelines for Promoting SMEs High Growth Sectors. [Online], Available: http://www.sme.go.th.

(2017, 5 December). [in Thai].

Wattanayommanaporn O. (2015). Chinese Long: The Dominating of Thai Fruits. [Online], Available: http://www.ag-

ebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2011/2011-005-0055/index.html#/18. (2019, 12 January). [in Thai].

Wimate K. (1999). Problem Study and Development in the Quality of Durian. Master’s Thesis in Business Administration (Agribusiness),

Kasetsart University. [in Thai].