ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การบริหารความเสี่ยง 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูและ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูในสถานสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ พารามิเตอร์ที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารความเสี่ยง 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี อยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดปทุมธานี พบว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
กฤษณ์ธวัช นพนาคีพงษ์ม.ป.ป. แผนการบริหารความเสี่ยง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี
งบประมาณ 2552, สืบค้นจาก www.nrct.go.th
กิ่งกาญจน์ คงจุน (2553).การบริหารจัดการความเสี่ยงทางด้านการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษากรณีศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 3. (สาระนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
กัญชลี จำนงค์วงศ์. (2551). “การบริหารความเสี่ยง,” สืบค้นจาก www.opdc.dgr.go.th.(2552). การบริหาร
แบบมีส่วนร่วม Paticipation Management.สืบค้นจาก
กรไกร ภูมิไสว. (2553). การศึกษาความเสี่ยงในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พิจิตรเขต 2. (สาระนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).
Dimitris N. C. (1998) “Understanding the Marking-to-Model and Value-at-Risk” The Market
Risk Amendment.
Dorfman, Mark S. ( 1997 ). Introduction to Risk Management and Insurance. (6 thed),
Prentice Hall
Good, C. (1973). Dictionary of Education.Education.Edited by Carter V. Good. New York: