ผลการใช้สื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน สำหรับ พนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบิน บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)

Main Article Content

ทศพร ทองธนสิน
จงกล แก่นเพิ่ม

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน สำหรับ พนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 เปรียบเทียบคะแนนก่อนการฝึกอบรมกับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมด้วยสื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน สำหรับพนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และศึกษาความพึงพอใจของพนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบินที่มีต่อสื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบินของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน 30 คน ได้มาโดยใช้วิธีการเลือกสุ่มแบบบังเอิญ จากกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน แบบประเมินคุณภาพสื่ออีเทรนนิ่งสำหรับผู้เชี่ยวชาญ  แบบทดสอบก่อนการฝึกอบรม แบบทดสอบหลังการฝึกอบรม และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อสื่ออีเทรนนิ่ง เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที

ผลการวิจัยพบว่า สื่ออีเทรนนิ่งเพื่อการฝึกอบรม เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน สำหรับพนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 90/90 ที่ได้กำหนดไว้ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อการฝึกอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และพนักงานปฏิบัติการบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่ออีเทรนนิ่งเพื่อการฝึกอบรม เรื่อง อุปกรณ์ฉุกเฉิน อยู่ในระดับมาก

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กิดานันท์ มลิทอง. 2548. เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.

กิตติศักดิ์ ณ สงขลา. 2553. องค์ประกอบอีเลอร์นนิ่ง (Online).

http://gotoknow.org/blog/edutechkittisak/248764, 11 สิงหาคม 2553.

ใจทิพย์ ณ สงขลา. 2550. วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. พิมครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. 2553. ADDIE Model (Online).

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:o5BckkqUjiIJ:www.edu.msu.ac.th/UserFiles/File/addie_model2.doc+addie&cd=12&hl=th&ct=clnk&gl=th, 20 กันยายน 2553.

ชวลิต ชูกำแพง. 2550. การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

โชคชัย ชยธวัช. 2547. ครูพันธุ์ใหม่. กรุงเทพมหานคร: วรรณสาส์น.

ณัฐกร สงคราม. 2553. การออกแบบมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. 2545. หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน.

เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิรนาม. 2553. ภาวะโลกร้อน (Online). http://www.whyworldhot.com/what-is-global-warming,

สิงหาคม 2553.

นิรนาม. 2553. ADDIE Model (Online). http://www.learning-theories.com/addie-model.html,

กันยายน 2553.

บุณเกียรติ เจตจำนงนุช และ ภาณุภณ พสุชัยสกุล. 2549. จัดการเรียนการสอนอีเล็กทรอนิกส์ด้วย

ระบบ Moodle. (Online). http://www.nectec.or.th/images/pdf/techtrends/69/moodle.pdf, 30 กันยยายน 2554.

บุญนิตา เวชยา. 2546. ประโยชน์ของการฝึกอบรม (Online).

http://pirun.ku.ac.th/~oskr/section1_4.html. 9 กันยายน 2553.

บุญเรียง ขจรศิลป์. 2548. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลในการวิจัยโดยใช้โปรแกรม

สำเร็จรูป SPSS for Windows Version 10-12. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอส. พี. เอ็น.

การพิมพ์.

. 2549. สถิติวิจัย I. นนทบุรี: โรงพิมพ์พีเอส.พริ๊นท์.

พรรณี ชูทัย เจนจิต. 2538. จิตวิทยาการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: คอมแพคท์พริ๊นท์.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2548. หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3.

กรุงเทพมหานคร: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์.

พัสตรา สุขคง. 2548. การใช้อีเลิร์นนิ่งสำหรับการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : กรณีศึกษากายวิภาคศาสตร์ของกบ. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการ

จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

มนตรี แย้มกสิกร. 2550. การเลือกใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพในงานวิจัยและพัฒนาสื่อการสอน:E1/E2

และ 90/90 Standard (Online). http://researchers.in.th/blog/academic/1222, 16 สิงหาคม

อ้างถึง เปรื่อง กุมุท. 2519. เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม. คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ ประสานมิตร.

มลิวัลย์ ผิวคราม และคณะ. 2552. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการวัดและประเมินผล

การศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อก้าวสู่เทคโนโลยีสารสนเทศ. ชุมพร: สถาบันการ

พลศึกษาชุมพร.

มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. 2552. Rating Scale ที่ใช้กันอยู่ได้มาตรฐานหรือไม่ (Online).

http://eportfolio.hu.ac.th/ekm/index.php?option=com_simpleboard&Itemid=68&func=view&id=531&catid=5, 16 สิงหาคม 2553.

เมธี พิกุลทอง. 2552. E-Training นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาหัวใจ (Online).

http://www.learners.in.th/blog/ict-edu/263340, 30 กันยายน 2554.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525.

กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

ยุทธณา อาจหาญ. 2551. การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) วิชาฟิสิกส์ เรื่องแสงและการ

มองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ เทคโนโลยีและการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เยาวดี วิบูลย์ศรี. 2540. การวัดและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. 2543. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.

วัชระ. 2553. ทฤษฎีความพึงพอใจ (Online).

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=3612.0, 25 สิงหาคม 2554.

วรวิทย์ นิเทศศิลป์. 2551. สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.

วสันต์ ทองไทย. 2550. เอกสารประกอบการสอนวิชาระเบียบวิธีการวิจัย.

วิจิตร อาวะกุล. 2540. การฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศศิรัตน์ บรรยายกิจ. 2551. การพัฒนารูปแบบการนำอีเลิร์นนิ่งมาช่วยสอนทักษะขิมเบื้องต้นใน

ระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ นโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา

สาขาวิชา อุดมศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ. 2554.

E-training (Online). http://www.northeducation.ac.th/etraining/index.php?mod=Message&op=helpdesk, 30 กันยายน 2554.

สมคิด บางโม. 2549. เทคนิคการฝึกอบรมและการประชุม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:

วิทยพัฒน์.

สุชาย ธนวเสถียร. 2549. สกอร์มมาตรฐานอีเลิร์นนิงที่ใช้กันทั่วโลก. พิมครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร: สยามเพลส แมเนจเม้นท์.

สุชาย ธนวเสถียร และ ชูเกียรติ ศักดิ์จิรพาพงษ์. 2549. การออกแบบบทเรียนอีเลิร์นนิงแบบมี

ปฏิสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ดิจิเทนต์.

สุพักตร์ พิบูลย์. 2552. การพัฒนาเครื่องมือประเภทมาตรประมาณค่า (Rating Scale) ในงานวิจัย

(Online). http://gotoknow.org/blog/sup005/238980, 16 สิงหาคม 2553.

อาณัติ รัตนถิรกุล. 2553. สร้างระบบ e-learning ด้วย Moodle ฉบับสมบูรณ์.

กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

อารีย์ วชิรวราการ. 2542. การวัดและการประเมินผลการเรียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏธนบุรี.

อุมาพร สุขม่วง และ นพเก้า เอกอุ่น. 2552. “แนวทางการฝึกอบรมตามมาตรฐาน ISO 10015.”

วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ 57 (179): 14-17.

Bryn Holmes and John Gardner. 2006. E-Learning Concept and Practice. London: SAGE.

Carol Fallon and Sharon Brown. 2003. E-learning standards : a guide to purchasing,

developing, and deploying standards-conformant e-learning. Florida: CRC Press LLC.

Martin Weller. 2007. Virtual Learning Environments Using, choosing and developing your

VLE. New York: Routledge.

Likert R. 1967. The Human Organization Its Management and Value. New York:

McGraw-Hill.