ความต้องการ ความคาดหวัง และการวัดผลสำเร็จของงานบริการวิชาการ ของคณะวิทยาการจัดการต่อชุมชนท้องถิ่น
Main Article Content
Abstract
ความต้องการ ความคาดหวัง และการวัดผลสำเร็จของงานบริการวิชาการ ของคณะวิทยาการจัดการต่อชุมชนท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อทราบถึง 1) ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ในเรื่องของการบริการวิชาการของคณะวิทยาการจัดการ 2) ความคาดหวังของชุมชนท้องถิ่น ที่มีต่อการบริการวิชาการของคณะวิทยาการจัดการ 3) ผลสำเร็จของงานบริการวิชาการของคณะวิทยาการจัดการต่อชุมชนท้องถิ่น
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นหญิงคิดเป็นร้อยละ 98.1 สถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 66.9 ส่วนใหญ่อายุ 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 50.2 มีรายได้ต่อครอบครัวต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 56.1 ความต้องการโดยรวมของผู้เข้าอบรมอยู่ที่ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.99) โดยที่การอบรมครั้งนี้ตรงกับความต้องการของผู้เข้ารับบริการวิชาการอยู่ที่ระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.26) และในการอบรมในครั้งต่อไปผู้เข้ารับบริการวิชาการมีความสนใจในด้านการฝึกอาชีพ (ร้อยละ 57.3) ความคาดหวังโดยรวมของผู้เข้ารับบริการวิชาการอยู่ที่ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.20) โดยที่ผู้เข้าร่วมอบรมมีความคาดหวังว่าการอบรมในครั้งนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้ (ค่าเฉลี่ย 4.20) ความสำเร็จในการบริการวิชาการพบว่าผู้เข้าร่วมรับการบริการวิชาการมีความเข้าใจก่อนการอบรมที่ระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.25) และพบว่าผู้เข้าร่วมรับการบริการวิชาการมีความเข้าใจหลังการอบรมที่ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.12)
ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการเปรียบเทียบความต้องการ ความคาดหวัง ความสำเร็จของ แต่ละชุมชนท้องถิ่นที่มหาวิทยาลัยได้ไปให้บริการวิชาการ และควรมีการติดตามผลจากการอบรมเป็นระยะๆ เพื่อให้ก่อเกิดความยั่งยืนแก่ชุมชนท้องถิ่น
Requirement, expectation and achievement measurement of academic service in faculty of management science to the local community has propose to understand (1) requirement from the local community to academic service of faculty of management science (2) the expectation of local community to academic service of faculty of management science (3) the achievement of academic service of faculty of management science
Sample size for this study are 239 people, were selected from people who attends academic service program. Based up on the study most respondents are female, single, age 21-30 year old and earning income around 5,001 – 10,000 baht. The result of this study shows that this academic service response to the demand of respondent in place and time period. For next academic service, the respondents prefer the topic about occupational training, agriculture, and other academic knowledge. The result of expected level of academic service respondent show that the respondent able to adapt their knowledge to daily life and will attend for next academic service. The result of level of achievement in academic service show that the respondents have knowledge before attend academic service in moderate level and high level after attend academic service.
To further the research next time, need analysis, expectation and success of each community where the university provided the academic services should be done. Moreover, the training results should be reported periodically due to the community’s sustainability.
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์อักษร
ความรับผิดชอบ เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความหรือผู้เขียนเอง ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
กฤษณา ศักดิ์ศรี. 2534. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ. บำรุงสาสน์. 2530.
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2549. การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2549. สถิติสำหรับงานวิจัย หลักการเลือกใช้เทคนิคทางสถิติในงานวิจัย พร้อมทั้ง
อธิบายผลลัพธ์ที่ได้จาก SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.จินตนา มังคละกนก. 2554. การสำรวจความต้องการการรับบริการวิชาการของชุมชนและสังคม ในเขตบางซื่อ
กรุงเทพมหานคร และเขตจังหวัดปราจีนบุรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. 2542. การวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร : คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชิษณุกร พรภาณุวิชญ์. 2540. ความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อบทบาทการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่นของสมาชิกองค์การบริหารการบริหารส่วนตำาบล : กรณีศึกษาจังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์สังคม
ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
นวลจันทร์เพิ่มพูนรัตนกุล. 2540. ทฤษฎีความคาดหวัง. ค้นวันที่ 6 มิ.ย. 56 จาก www.novabizz.com
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. 2553. จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2525. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญ
ทัศน์.
พิทยา บวรวัฒนา. 2544. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฏีและแนวการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิภพ วชังเงิน. 2547. พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา.
พัชรี มหาลาภ. 2538. แนวคิดความคาดหวัง. ค้นวันที่ 16 เมษายน 2556 จาก http.//www.stpa.ac.th
โยธิน ศันสนยุทธ. 2530. มนุษยสัมพันธ์ : จิตวิทยาการทำงานในองค์การ. กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริม
วิชาการ.
วรรณภา ชำนาญเวช. 2551. ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการทำงานของพนักงานธนาคารออมสิน ในเขต
กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วริศรา ร่มโพธิ์ทอง. 2554. การรับรู้และความคาดหวังของชุมชนที่มีต่อบทบาทการบริการวิชาการของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต (การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน) สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน ภาควิชาการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
วันชัย มีชาติ. 2548. พฤติกรรมการบริหารองค์การสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร : แอททีฟ พริ้น.
วินัย เพชรช่วย. 2551. แรงจูงใจ. ค้นเมื่อสิงหาคม 12, 2551. http://www.geocities.com.
วิชิต อู่อ้น. 2550. การวิจัยและการสืบค้นข้อมูลทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร : พริ้นท์แอทมี่
ศรีนิตย์ สุวัช. 2521. พฤติกรรมทางสังคม.ค้นวันที่ 19 พฤษภาคม 2556 จาก www.sir.ga.ca.th
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2545. ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
สมลักษณ์ เพชรช่วย. 2540. แนวคิดความคาดหวัง.ค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556. จาก http://
tpa.or.th/writer/read.
สลักจิต พุกจรูญ และ พลกฤษณ์ คุ้มกล่ำ. 2551. ความคาดหวังในด้านบริการวิชาการและกิจการนักศึกษาของ
นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
สิทธิโชค วรานุสันติกุล. 2546. จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด (มหาชน).สิริวรรค์ อัศวกุล. 2528. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความคาดหวัง. วันที่ค้นข้อมูล 19 พฤษภาคม 2555,
http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Expectancy_Theory.htm
อุไรวรรณ เกิดผล. 2539. ปัจจัยที่มีผลต่อความคาดหวังของหัวหน้าสถานีอนามัยต่อระบบการนิเทศงาน
สาธารณสุขผสมผสานในจังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาบริหาร
สาธารณสุข,บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา
อัญชลี อ่านวรุฬหวาณิช. 2539. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความคาดหวัง. วันที่ค้นข้อมูล 19 พฤษฎาคม 2555,
เข้าถึงได้จาก http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/
Getzels V.; et al.,1974. ทฤษฎีความคาดหวัง. ค้นวันที่ 16 เมษายน 2556 จาก
www.fearmotlaw.com/article1999.html
Homby , A.S. 2000. Oxford Advanced Leamer’s Dictionary of Curent English. 6th ed.
Oxford : Oxford University . http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Expectancy_Theory.htm#ixzz1laiuYbND
http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Need_Theories.htm#ixzz1lanRTgXx Expectancy_Theory.htm