รูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

พัชราภรณ์ มาสุวัตร์
ช่อเพชร เบ้าเงิน
สุรพล น้อยแสง

Abstract

              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิผลและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน  2) วิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน 3) วิเคราะห์รูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน 4) ยืนยันรูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน

ผลการวิจัยพบว่า

  1. ประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน ได้แก่ แหล่งเรียนรู้  การส่งเสริมสุขอนามัย ครู การบริหารจัดการ การพัฒนาทักษะชีวิต และนักเรียน ส่วนปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลโรงเรียนในฝัน คือ บรรยากาศองค์กร ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์กร โครงสร้างองค์กรและเทคโนโลยี
  2. การวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้ค่า KMO ค่า Bartett’s Test  ค่า Communalities และค่า Component Matrix ทุกองค์ประกอบเป็นไปตามเกณฑ์ แสดงว่าองค์ประกอบของทุกปัจจัยมีความเหมาะสม
  3. การวิเคราะห์ปัจจัย ด้วยค่าน้ำหนักองค์ประกอบ ทุกปัจจัยมีอิทธิพลทางตรง ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อม คือภาวะผู้นำ ส่งผ่านปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กรและวัฒนธรรมองค์กร ทุกปัจจัยมีอิทธิพลรวม ค่าสหสัมพันธ์พหุคูณยกกำลังสอง (R2) คิดเป็นร้อยละ 85
  4. รูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน จากการสนทนากลุ่ม ได้รับการยืนยันความเป็นไปได้

 

               The objectives of this research were 1) to study efficiency and the causal factors that influence the effectiveness in the lab school, 2) to analyze the composition of the factors that influence the effectiveness of the lab school, 3) to analyze the model of  causal factors that influence the effectiveness of the lab school, 4) to confirm the model of causal factors that influence the effectiveness of the lab school

      The results were as follow:

        1. Effectiveness of the lab school were learning resources, health promotion, teachers, management, the effectiveness life skills program and students. Causal of Factors  that Effectiveness of  lab school were  organizational climate, leadership, organizational culture, organizational structure and technology.

        2. Analysis by the KMO, the Bartett's Test, the Communalities and Component Matrix. According to the criteria set all of the components.That were a factor in all the right elements.

        3. Analysis with factor loading, the Direct Effect were influence of all the factors.The Indirect Effect was leadership by transmission that organizational structure and organizational culture. The Total Effect were influence of all the factors too. And the Squared Multiple Correlation (R2) accounted for 85 percent.

        4. The Focus Group to confirm, The model of causal factors that influence the  effectiveness of lab school was a possibility.

 

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). 1 ทศวรรษโรงเรียนในฝันจารึกไว้ในแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

กัญนิภา พราหมณ์พิทักษ์. (2554). จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพคุณภาพผู้เรียน เส้งทางสู่ความสำเร็จในการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2556). วารสารวิชาการ, 14(3), 3-13.

กานดา สุขทุม. (2556). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงเส้น คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอิทธิผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ .วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กิตติ กสิณธารา และ คณะ(2553). การศึกษาภาพความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ หนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2553 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง. งานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ญาณิศา บุญจิตร์. (2552).การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดรุณี โกเมนเอก. (2553). รูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงสาเหตุต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

ธร สุนทรายุทธ. (2551). การบริหารเชิงปฏิรูป : ทฤษฎีวิจัยและปกิบัติทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ์.

ธวัช กรุดมณี.(2550). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลองค์การของโรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิวัตร นาคะเวช. (2554). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนในฝัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย.

พิสมร วัยวุฒิ และคณะ. (2553). การศึกษาภาพความสำเร็จโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน รุ่น 1- 2 (Lab School Project) ปี พ.ศ. 2546 – 2553 ภาคเหนือ. งานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ไพศาล ศรีสำราญ และคณะ (2553). การศึกษาภาพความสำเร็จโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน รุ่น 1–2 (Lab School Project) ปี พ.ศ. 2546 – 2553 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. งานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ราชกิจจานุเบกษา. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545, 9 มีนาคม 2558. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/special/search_result.

jsp?SID=3BA131A03020EA23E5A28F057797F088

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). การศึกษาภาพความสำเร็จโรงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน รุ่น 1-2 (Lab School Project) ปี 2546-2553 ภาคตะวันออก. งานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). การศึกษาภาพความสำเร็จของโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน ภาคใต้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วย หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

Anthos, A.G., & Coffey, R.E. (1968). Behavior in organization : A multi dimentional view. New Jersey: Prentice-hall.

Davis, S. (1981). Introduction to total quality: Quality productivity competitiveness. New York: Mcmillan.

Duke, D. L.(1987). School Leadership and Internation Improvement. New York: Random House.

Gibson, C. H. (1991). A concept analysis of empowerment. Journal of Advanced Nursing,16(1), 354-361.

Holt, A., & Hind. T.(1994) The new school govemor: realizing the authority in the head and governing body. London: Biddles Ltd., Cuildford and King Lynn.

Kast, Fremont E. and Rosenzweig, James E. (1985). Organization and Management: A systems and contingency approach. 4th ed. Singapore: McGraw-hill.

Mann, D. & Lawrence. (1987). Effective School as a Dropout Prevention Strategies. Home Wood: Nassp Bulletin.

Reid, K., Hopkins, D., & Holly, P. (1998). Toward the effective school. Oxford: Basic Blackwell.

Ruhl, M. L.(1986).The development of survey of school effectiveness. Dissertatin Abstracts International,46(11), 3216-A.