ข้อวิพากษ์แนวการพัฒนาเสรีนิยมใหม่ตามกรอบแนวคิดของเจอร์เก็นต์ ฮาเบอร์มาส∗

Main Article Content

ชัชพันธุ์ ยิ้มอ่อน
ปิยะ สงวนสิน
วรนุช สิปิยารักษ์
วรรณลดา กันต์โฉม
นริศรา จริยพันธุ์

Abstract

               บทความนี้จึงมีจุดประสงค์ในวิจัย 1.เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะ (Public Sphere) กับทฤษฎีการกระทำเชิงการสื่อสาร (Theory of Communicative Action) ของเจอร์เก็นต์ ฮาเบอร์มาสเพื่อพัฒนาเป็นกรอบแนวคิด 2.เพื่อพรรณนาการพัฒนาของประเทศไทยตามแนวทางเสรีนิยมใหม่หลังวิกฤตเศรษฐกิจจนถึงรัฐประหาร พ.ศ.2552 3.เพื่อวิพากษ์แนวทางการพัฒนาตามแนวทางเสรีนิยมใหม่ของประเทศไทยตามกรอบแนวคิดของเจอร์เก็นต์ ฮาเบอร์มาส 4.เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสังคมไทย

               ผลการวิจัยพบว่า 1.แนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะคือ พื้นที่สื่อสารกันด้วยเหตุผล และทฤษฎีการกระทำเชิงการสื่อสารคือ ปทัสถานสำหรับสื่อสารไปสู่ความเข้าใจร่วมกันจนบรรลุฉันทามติ 2.การพัฒนาตามแนวทางเสรีนิยมใหม่ส่งผลให้ไทยเกิดปรากฎการณ์ที่ตามมา ได้แก่ 2.1 ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและ 2.2 ภาครัฐและเอกชนควบคุมพื้นที่สาธารณะ 3.แนวทางการพัฒนาของประเทศไทยถูกครอบงำด้วยการใช้เหตุผลเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเมือง เศรษฐกิจโดยละเลยความเข้าใจร่วมกันและฉันทามติจากภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม ดังนั้น 4.ข้อเสนอแนะคือ ให้ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน และสังคมแสวงหาแนวทางการพัฒนาร่วมกัน ซึ่งทุกฝ่ายต้องเข้าใจร่วมกันและมีฉันทามติ

 

               The objective of this research is to study 1.the concept of Public Sphere and the Theory of Communicative Action of Jurgen Habermas in order to be applied as conceptual framework. 2. To describe Neo-Liberalism Development in Thailand after the impact of economic crisis though 2014 coup d'état. 3.To critique Neo-Liberalism Development in Thailand though conceptual framework and  4.To propose what should be in the present situation for guiding the development of Thailand.

               The result of study found that 1.Public sphere is the sphere for communicative reason and The Theory of Communicative Action is the norm for communication toward mutual understanding and consensus. 2. The Impact of Neo-Liberalism Development in Thailand is 2.1 economic inequality 2.3 Government sector and Private sector control public sphere. 3. Thailand is dominated by the Instrument reason to achieve political and economic end without mutual understanding and consensus from other sphere, so 4.The suggestion is all sectors in public or private spheres have to use the communicative reason to achieve mutual understanding and consensus.

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biographies

ชัชพันธุ์ ยิ้มอ่อน

หลักสูตรสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี 

ปิยะ สงวนสิน

หลักสูตรสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี 

วรนุช สิปิยารักษ์

หลักสูตรสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี 

วรรณลดา กันต์โฉม

หลักสูตรสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี 

นริศรา จริยพันธุ์

หลักสูตรสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  จังหวัดปทุมธานี 

References

วอลเดน. เบนโล. (2542). โศกนาฏกรรมสยาม: การพัฒนาและการแตกสลายของสังคมไทยสมัยใหม่. กรุงเทพ ฯ : โกมลคีมทอง.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2557). ความมั่งคั่ง อำนาจ ความไม่เท่าเทียม. ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร บรรณาธิการ. สู่สังคมไทยเสมอหน้า. กรุงเทพ ฯ : มติชน

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2553). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: วิภาษา.

อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2548). เอกสารการสอนชุดวิชา 81311 หลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ฮาร์วี เดวิด. (2555). ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

Buckler, S. (2010). Normative Theory. (D. Marsh, & G. Stoker, Eds.) New York: Palgrave Macmillan.

Habermas, J. (1981). The Theory of Communicative Action: Reason and the rationalization of society. Boston: Beacon Press.

Habermas, J. (1991). The Sructural Transformation of Public Sphere. Cambridge, Massachusetts: MIT.

Hewison, K. (2003). The Politics of Neo - Liberalism: Class and Capitalism in Contemporary Thailand. Southeast Asia Research Centre, vol 45 (6), 1-20.

Outhwaite, W. (1994). Habermas: A Criti.al Introduction. Califirnia: Standford University.

Sandel, M. (2009). Justice what’s the right thing to do?. USA: Penguin.

Siriyuvasak, U. (2000). The Ambiguity of the Emerging Public Sphere and the Thai Media Industry. The Conference on The Production and Consumption of National and Local Cultural Products in the Age of Global Communication. Taiwan: The New Communications Landscape.