การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคมและผลประกอบการทางการเงินของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

อลิสา ประมวลเจริญกิจ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคมและผลประกอบการทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 450 บริษัท ระยะเวลาในการศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ถึง พ.ศ. 2558 งานวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุแบบพาแนลดาต้า (Panel Data Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า การเคารพสิทธิและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม และการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีผลกระทบเชิงบวกต่ออัตรากำไรสุทธิ  การเคารพสิทธิและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคม และการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีผลกระทบเชิงบวกต่ออัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์

 

 

The purpose of this research was to analyze relationships between the corporate social responsibility (CSR) and financial performances of companies registered in the Stock Exchange of Thailand (SET). The sample size of 450 SET listed companiesduring the 2013 -2015 was adopted and multiple regression analysis was employed to conduct hypothesis testing using panel data.Research findings indicated that CSR variables positively affected net profit margin (NPM), and return on asset (ROA). Human rights adherence and good governance positively affected NPM. Human rights adherence, CSR innovation dissemination and good governance positively affected ROA.

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biography

อลิสา ประมวลเจริญกิจ

หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนเรศวร

References

คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการกลุ่มความร่วมมือทางวิชาการเพื่อพัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนและการวิจัยด้านบริหารธุรกิจแห่งประเทศไทย.

คณะทำงานส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทจดทะเบียน.(2551).

เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม.กรุงเทพฯ: สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่ง

ประเทศไทย.

จิรพัฒน์ ศิริรักษ์, และชไมพร ใจแปง. (2551). ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) พฤติกรรมที่

พึงประสงค์ในองค์กร. การสัมมนาสังคมเชิงพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บูรณภพ สมเศรษฐ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบทางสังคมขององค์กรและขนาดขององค์กรกับผลการดำเนินงานทางการเงิน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อาจารีย์ ประจวบเหมาะ. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Cochran, P. L., & Wood, R. A. (1984). Corporate Social Responsibility, & Financial Performance. Academy of Management Journal, 27(1), 42-56.

Hill, C. W., & Jones, G. R. (2001). Strategy in the Global Environment (5th ed.). Boston, MA, New York: Houghton Mifflin Company.

Johansson, S., Karlsson, A., & Hagberg, C. (2015). The Relationship between CSR and Financial Performance. Sweden: Linnaeus University.

Kotler, P., & Lee, N. (2005). Corporate Social Responsibility. New Jersey: Wiely & Sons.

Masoud, N., & Halaseh, A. (2017). Corporate Social Responsibility and Company Performance: An Empirical Analysis of Jordanian Companies Listed on Amman Stock Exchange. British Journal of Education, Society and Behavioral Science. 19(1), 1-26.

McWilliams, A., & Siegel, D. (2000). Corporate Social Responsibility and Financial Performance: Correlation or Misspecification?. Strategic Management Journal. 21(5), 603-609.

Porter, M. E., & Kramer, M. R. (2006). Strategy and Society: The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility. Harvard Business Review, 84(12), 78-92.

Porter, M. E., & Van der Linde, C. (1995). Toward a new conception of the environment competitiveness relationship. Journal of Economic Perspectives, 9(4), 97-118.

Waddock, S.A., & Graves, S.B. (1997). The Corporate Social Performance: Financial Performance Link. Strategic Management Journal, 18(4), 303-319.