การจัดการการเกษตรสมัยใหม่ของประเทศไทย

Main Article Content

ยิ่งศักดิ์ ไกรพินิจ
ธีระวัฒน์ จันทึก
พิทักษ์ ศิริวงศ์

Abstract

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโครงสร้างพื้นฐาน สภาพการณ์การทำเกษตรและปัจจัยการผลิตด้านการเกษตร และศึกษาแนวคิดการพัฒนาการเกษตรตามแนวทางเกษตรปราดเปรื่อง โดยการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและได้วิเคราะห์ถึงการจัดการภาคเกษตรสมัยใหม่เพื่อลดปัญหาการผลิตภาคเกษตรของไทยในปัจจุบัน

            ผลการศึกษาพบว่าการผลิตภาคเกษตรเป็นแหล่งอาหารสำคัญของโลกและประเทศ การเพิ่มจำนวนประชากรส่งผลต่อการผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้น ในปัจจุบันการผลิตภาคเกษตรต้องเพิ่มผลผลิตให้เป็นการผลิตเกษตรเชิงพาณิชย์ส่งผลให้มีการขยายพื้นที่ การใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี และเพิ่มจำนวนแรงงาน ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศลดลง สภาพปัจจัยการผลิตภาคเกษตรที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ผลิตผลิตภาคเกษตรได้รับผลกระทบและส่งผลต่อความมั่งคงอาหาร  ส่วนสภาพปัจจัยนอกภาคการเกษตรทั้งการการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงด้านการค้าและกฎหมาย
เป็นปัจจัยสำคัญที่การผลิตภาคเกษตรจะรับรู้และนำข้อมูลมาใช้เพื่อวางแผนการผลิตและปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต การจัดการผลิตภาคเกษตรตามแนวคิดเกษตรปราดเปรื่อง เพื่อวางแผนการผลิตที่คำนึงถึงปัจจัยการผลิตภาคเกษตร และปัจจัยนอกการผลิตภาคเกษตร ให้ความสำคัญกับข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี และสารสนเทศเพื่อใช้ตัดสินใจการวางแผนการผลิตภาคเกษตรจึงเป็นแนวทางการผลิตเพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีปริมาณเพียงพอความต้องการ มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

 

 

This academic article is aimed to study an infrastructure of agricultural conditions, agricultural production, agricultural factor and concept of agricultural development in accordance with a smart farm concept. A researcher studies from document and analyzes a modern agricultural management to reduce the problems of agricultural production in Thailand presently. It is revealed that agricultural production is a major source of food in the world. The population growth in some countries are affected the increasing agricultural production. Nowadays, agricultural production has to be increased to produce commercial agriculture, resulting in the expansion of area, increase the amount of chemicals and chemical fertilizers and increase the number of laborers. These affect natural resources by reducing the country's biodiversity. The changing agricultural production conditions have affected the food consume, climate change, trade change and legal change. It is important that agricultural production is recognized and used the information to plan and modify the production process. Smart farm concept is a solution for agricultural production plan that mainly focused on agricultural input and output. It is also stressed on IT information in order to decide the agricultural production plan to be a guideline for producing a sufficient, quality and safe for consumer and environment agricultural products.

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biographies

ยิ่งศักดิ์ ไกรพินิจ

นักวิชาการศึกษาชำนาญการ  สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ  กรุงเทพมหานคร

ธีระวัฒน์ จันทึก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พิทักษ์ ศิริวงศ์

รองศาสตราจารย์ ดร. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

References

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2559. แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564).

กรมส่งเสริมการเกษตร. 2556. คู่มือการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer.กรุงเทพมหานคร.

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2553. ความหลากหลายทางชีวภาพ กู้วิกฤตชีวิตโลก. กระทรวงทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมม กรุงเทพมหานคร. 128 หน้า.

กรมอุตุนิยมวิทยา. http://www.tmd.go.th /info/info.php [30 กันยายน 2559]

กรมอุตุนิยมวิทยา. 2553. ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทยและการคาดการณ์ในอนาคต. http://www.tmd.go.th /info/climate_future.pdf [30 ธันวาคม 2559]

คณะอนุกรรมการจัดทำแผนเพื่อการบริหารความมั่นคงทางด้านอาหาร. 2555. กรอบยุทธศาสตร์ความมั่นคง ด้านอาหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2556-2559) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.oae.go.th/download/journal/foodSecurityMOAC56-59.pdf [30 กันยายน 2559]

จารึก สิงหปรีชา. 2558. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดครงสร้างประชากรภาคการเกษตรต่อความมั่นคงในการผลิตอาหารภาคเกษตรของไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 20 (1).

นิพนธ์ พัวพงศกร. 2558. Smart Agriculture: The Future of Thailand. การประชุมวิชาการครั้งที่ 53 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://tdri.or.th/

wp-content/uploads/2015/02/Smart-Agriculture-The-Future-of-Thailand-nipon.pdf

กันยายน 2559]

ฤทัยชนก จริงจิตร. 2556. เจาะลึก “Smart Farmer” แค่แนวคิดใหม่ หรือจะพลิกโฉมการเกษตรไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://tpso.moc.go.th/img/news/1074-img.pdf [29 มกราคม 2558]

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ, 2558. แผนปฏิบัติการเทคโนโลยีเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย การปรับตัวภาคการเกษตร. บริษัท เบิร์ช ครีเอชัน จำกัด, กรุงเทพมหานคร.

กรมการค้าต่างประเทศ . 2555. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โอกาสและผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมไทย” บทวิเคราะห์ โอกาสและผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมไทยจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.med.cmu.ac.th/library/asean-web/asean-pillars/Thai_Industry_and_AEC.pdf. [30 กันยายน 2559]

สำนักสถิติแห่งชาติ. 2553. สำรวจการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร ปี 2551 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.oae.go.th/download/journal/foodSecurityMOAC56-59.pdf [30 กันยายน 2559]

สำนักสถิติแห่งชาติ. 2553. ทิศทางการทำงานของแรงงานไทย [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http:// service.nso.go.th/nso/nsopublish/citizen/news/news_lfsdirect.jsp. [30 กันยายน 2559]

สำนักสถิติแห่งชาติ. 2556. รายงานผลเบื้องต้น สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2556. ห้างหุ้นส่วนจำกัด

บางกอกบล็อก, กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2552. กรอบยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www. oae.go.th/download/journal/foodSecurityMOAC56-59.pdf. [30 กันยายน 2559]

สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2555. จำนวนประชากรภาคเกษตร ปี 2550-2554 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.agriinfo.doae.go.th/5year/general/50-54/pop50-54.pdf. [30 กันยายน 2559]

สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2559. ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืช. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.oae..go.th/ewt_news. [30 ธันวาคม 2559]

Davis, G., Casady, W. Massey, R. 1998. Precision Agriculture: An Introduction. Water Quality Focus Guides (WQ450).

FAO. 2014. The State of Food and Agriculture Innovation in family farming. (available at http:www.fao.org/a-i4040e.pdf).

Kaczan, D., Arslan, A. and Lipper, L. . 2013. Climate-Smart Agriculture? A review of current practice of agroforestry and conservation agriculture in Malawi and Zambia .ESA Working Paper No. 13-07.