MODEL DEVELOPMENT OF CREATING HAPPINESS AT WORK FOR INSTRUCTORS OF EDUCATION FACULTY AT SOUTHERN RAJABHAT UNIVERSITIES IN THAILAND

Main Article Content

Natjaree Jaroensuk

Abstract

The objectives of this study were to 1) study the state of happiness at work through document research and interview of five experts, 2) develop the model for creating happiness at work through seven experts and focus group discussion, and 3) to assess the suitability and feasibility of the model in creating happiness at work. The sample involved 190 instructors of the Education Faculty of Southern Rajabhat Universities in Thailand. The research instrument was a suitability and feasibility assessment form to evaluate the model. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. 


The research findings were as follows:


1. The sample's state of happiness at work showed that happiness comprised eight components: love in a career, success in work, recognition, physical and mental health, morality, positive emotion, being a giver, and good relationships.


2. The development of the model in creating happiness at work of the sample showed that the model involved principle, rationale, objective, and goal. The model could be used to support the creation of happiness at work and as a guideline for determining components of creating happiness at the work of the sample group.


3. The result of the suitability and feasibility assessment of the model in creating happiness at work of the sample showed that the overall suitability and feasibility of the model were at a high level.

Article Details

Section
Research Articles

References

ชนิกา แสงทองดี. (2560). รูปแบบการสร้างความสุขในการทำงานในองค์กรตามหลักพุทธจิตวิทยา. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพุทธจิตวิทยา. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์. (2556). มาสร้างองค์กรแห่งความสุขกันเถอะ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์องค์กรสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

ณัธฐาร์ภัค เกตุแก้ว. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับความสุขในการทำงานของพนักงานบริษัทกสทโทรคมนาคมจำกัด (มหาชน). ใน ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

นรินทร์ สังข์รักษา. (2560). การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นัญจรงค์ เฉลิมพงษ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับการปฏิบัติงานตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษาของผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. ใน งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ประมวล วิลาจันทร์ และเถลิงศก โสมทิพย์. (2555). การพัฒนารูปแบบการบริหารกิจการนักเรียนนักศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ใน ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พเยาว์ หมอเล็ก. (2560). ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. ใน การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

พิสณุ ฟองศรี. (2552). การสร้างและการพัฒนาเครื่องมือการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธา.

ภัทรดนัย ฉลองบุญ. (2556). ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ. วารสารสันติศึกษา ปริทรรศน์ มจร., 6(พิเศษ), 590-599.

เมธาพร ผังลักษณ์. (2559). ความสุขในการทำงานของครูในอำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. ใน งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ยศวดี ดำทรัพย์. (2560). การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม. ใน ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำการจัดการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ว.วชิรเมธี. (2556). ความสุขในกำมือ. นนทบุรี: ปราณ.

ศิรินันท์ กิตติสุข และคณะ. (2555). คู่มือการวัดความสุขด้วยตนเอง Happinometer. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมสิทธิ์ มีแสงนิล. (2556). งาน กับ ความรัก. เรียกใช้เมื่อ 5 มีนาคม 2564 จาก https://www.sanook.com/men/922/.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2552). คู่มือมาสร้างองค์กรแห่งความสุขกันเถอะ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

อัชฌา ชื่นบุญ. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบคลากรในโรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่. นครราชสีมา: โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่.

เอกสฤษดิ์ ลักษิตานนท์ และคณะ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะรัฐศาสตร์. ใน ทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะรัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เอมรินทร์ จันทร์บุญนาค. (2561). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานบุคคลสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 6(3), 12.

Argyle, M. and Martin, M. (1991). The Psychological Causes of Happiness, [in:] Strack F., Argyle M., Schwarz N. (eds.), Subjective Well-Being: an interdisciplinary perspective, Pergamon Press, Oxford.

Manion, J. (2003). Joy at Work Creating appositive workplace. Journal of Nursing Administration, 33(12), 652-659.