CREATIVE LEADERSHIP FOR TEACHER PERFORMANCE MOTIVATION IN INSTITUTIONS UNDER NAKHON SI THAMMARAT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

Main Article Content

Sarayut Chooyok
Teeraphong Somkhaoyai
Kasama Srisuwan

Abstract

     This thesis aimed to 1) study the creative leadership of school administrators and teachers' performance motivation, 2) study the relationship between the creative leadership of educational institute administrators and teachers' performance motivation, and 3) propose guidelines for developing creative leadership of school administrators and teachers' performance motivation. This research was Mixed Method Research, and data were collected using questionnaires. The sample group comprised 306 teachers in educational institutes under the Office of Primary Education Service Area 3. Key informants: five educational institute administrators obtained through specific selection were interviewed. The questionnaire had a reliability value of .988. The statistics used in the research were percentage, mean, and standard deviation. The correlation test was performed using the Pearson correlation coefficient.


The study showed the following results:


1. Overall, the creative leadership of educational institution administrators was at a high level. When considering each aspect, the ability to solve problems had the highest average; the imagination had the lowest average. Overall, the teacher's performance motivation was at a high level. When considering each aspect, the career progress had the highest average, and the work's success had the lowest average.


2. Overall, the relationship between the creative leadership of school administrators and teachers' performance motivation had a positive correlation at the moderate level, with statistical significance at the .01 level.


3. The guidelines for developing creative leadership of school administrators and teachers' motivation were as follows: The administrators should develop creativity by seeking knowledge, having the imagination to think, knowing how to adapt to the situation, and accepting the changes concerning using reasons to solve problems. They should support new ideas of teachers and personnel in schools, encouraging and intrinsically motivating with hope and commitment to succeed under the goals of working together in a challenging way.

Article Details

Section
Research Articles

References

กฤษพล อัมระนันท์. (2559). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอแม่วงก์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

กาญจนา ศิลา. (2556). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางเขน. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กิติมา ทวาเรศ. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

กุลชลี จงเจริญ. (2562). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1(12), 189-210.

แก้วมณี ปัทมะ. (2563). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชลดา สมัครเกษตรการ และสายทิตย์ ยะฟู. (2558). แนวทางส่งเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู. การประชุมสัมมนาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ชาญชัย ศรีภิญโญ. (2563). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา .

ดนุพร จุมพิต. (2562). คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู. เชียงใหม่: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2.

บรรณสรณ์ นรดี. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาโคกเพชรดองกำเม็ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชธานี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2563). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก.

ปิยะ หมานอิน. (2563). บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจำมัสยิด จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ไพรินทร์ ขุนศรี. (2559). แรงจูงใจของครูกับคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สิรินญา ศิริประโคน. (2561). การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนบ้านมาบเตย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระยอง เขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเกริก.

สุกัญญา สายลาด. (2564). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

อรสา เพชรนุ้ย. (2560). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.