การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

Main Article Content

ปรัศนี เสนารัตน์
อรุณ จุติผล
พรศักดิ์ จินา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาจาแนกตามตาแหน่ง ประสบการณ์การทางานประสบการณ์การฝึกอบรมเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และ 3) แนวทางการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และเจ้าหน้าที่จัดทาระบบสารสนเทศสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จานวน 278 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
2. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เจ้าหน้าที่จัดทาระบบสารสนเทศ โดยภาพและรายด้าน การจัดระบบสารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา จาแนกตามประสบการณ์การทางานโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา จาแนกตามประสบการณ์ฝึกอบรมเกี่ยวกับระบบสารสนเทศต่อปีการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12, สานักงาน. ข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2557. จากhttp://www.sea12.go.th. 2556.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554.
ครรชิต มาลัยวงศ์. ทัศนะไอที. กรุงเทพฯ : เน็คเทค, 2541.
ทดสอบทางการศึกษา, สานักงาน. แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานทดสอบทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2544.
ผ่องศรี วานิชย์ศุภวงศ์. “การสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้,” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 17, 2(มีนาคม 2549) : 235-256.
พิกุล เงินทอง. ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.
เพิ่มศักดิ์ ทองเลิศ. การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2553.
ยืน ภู่วรวรรณ. “ไอทีกับการประยุกต์เพื่อการเรียน,” วารสารส่งเสริมเทคโนโลยี. 5,27(กันยายน 2544) :127.
วรกิจ ฮานาฟี. การศึกษาสภาพและความพึงพอใจต่อการดาเนินการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาเอกชน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 2553.
วิจิตร ศรีสอ้าน. แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาระบบสารสนเทศ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2529.
วิชาการ, กรม. แนวทางการจัดทาระบบสารสนเทศสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานทดสอบทางการศึกษา, 2544.
สิริกร วัฒนธัญญาการ. การบริหารการจัดระบบสารสนเทศของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2552.
สุทธิศักดิ์ ทองนวล. การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดระบบสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 2551.
เสถียร บุญสวัสดิ์. สภาพและแนวทางการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดนราธิวาส สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 15. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555.
Cronbach, L. J. Essentials of Psychological Testing. 5th ed. New York : Harper and Row,1990.
Krejcie, R. V., and Morgan D. W. “Determining Sample Size for Research Activities,” Journal of Educational and Psychological Measurement. 30, 3(March 1970) :