การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

พิพัฒน์พงษ์ พงกะพันธ์

บทคัดย่อ

การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เป็นภารกิจที่สำคัญที่มุ่งส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองภารกิจของสถานศึกษา เพื่อดำเนินงานด้านการบริหารงานบุคคลให้เกิดความคล่องตัวอิสระภายใต้กฎหมาย ระเบียบเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลข้าราชการครูแบละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการศึกษาและมีความรู้ ความสามารถ มีขวัญและกำลังใจได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติมีความมั่นคง
และความก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยผู้บริหารสถานศึกษาต้องดำเนินการในภารกิจหลักของการบริหารงานบุคคล
คือ(1) การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง (2) การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง (3) การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (4) วินัยและการรักษาวินัย และ(5) การออกจากราชการ


            ผู้บริหารสถานศึกษาต้องให้ความสำคัญการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา เนื่องจากปัญหาที่พบเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลคือ การขาดแคลนบุคลากรในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง และการกระจายอำนาจการบริหารงานบุคคลให้สถานศึกษา จึงเป็นภารกิจที่สำคัญที่มุ่งส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงาน
เพื่อสนองตอบต่อภารกิจของสถานศึกษาให้การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคลให้เกิดความคล่องตัว
เป็นอิสระภายใด้กฎหมาย ระเบียบ ตามหลักธรรมาภิบาลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับ
การพัฒนา มีความรู้ความสามารถ มีขวัญกำลังใจได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคงและก้าวหน้า
ในวิชาชีพ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นสำคัญ (กระทรวงศึกษาธิการ 2545: 53)

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.2545.

กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. 2550.

______________.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา, คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). 2546.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.

ดุจดาว จิตใส. การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลสำหรับสถานศึกษาสังกัด สำนัก

งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2 (1) : 124-132. 2554.

ดวงเดือน ติยะบุตร. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูในอำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม, นครพนม. 2556.

มูนีเราะห์ เจ๊ะมิง. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัด สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา.สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. สงขลา. 2559.

วงษ์เดือน ทองคำ. คุณลักษณะความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษากับการเตรียม ความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาในอำเภอลาลูกกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหาร การศึกษา คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี, ปทุมธานี. 2556.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. แนวทางการกระจายการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการ กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.2550

สมยศ นาวีการ. หลักการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ, 2544.

สักรินทร์ อยู่ผ่อง. “การวิเคราะห์งาน สำหรับการบริหารงานบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา”. RMUTT Global Business and Econamics Review. คณะศิลปะศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2553.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. รวมบทความ สมศ. ปี 2544-2546 (กรุงเทพฯ : สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน), 2547.

อุษณีย์ จิตตะปาโล และนุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัติ. การบริงานบุคคลระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.). กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2548.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. โครงการอบรมหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย (กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. 2547.

Reddy R. Jayaprakash, Personnel Management (India : S.B. Nangia, 2004), 1

Flippo, B. Edwin. Principle of Personnel Management, ed. (New York : McGraw – Hill,1971),