ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู

Main Article Content

ปริญญา นันทา

บทคัดย่อ

ขวัญกำลังใจมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ตามการสร้างขวัญกำลังใจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นภารกิจที่ท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษา ในบทความนี้ ได้นำเสนอเกี่ยวกับแนวคิดเบื้องต้น ความหมายและความสำคัญของขวัญกำลังใจภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างขวัญและกำลังใจ ปัจจัยต่อขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ และบทสรุป ซึ่งประเด็นทั้งหมดนี้มีความสำคัญกับนักการศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการสร้างขวัญกำลังใจต่อครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เป็นข้อมูลสำหรับพัฒนาครูโดยการสร้างขวัญและกำลังใจให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการเสริมแรงและพัฒนาครูที่เน้นการสร้างความเข้มแข็งของจิตใจและความรู้สึกในบริบทที่หลากหลาย ช่วยให้การปฏิบัติงานของครูมีความสอดคล้องกับความหลากหลายทางสังคม ส่งผลต่อคุณภาพของการปฏิบัติงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคุณภาพผู้เรียนในบริบทที่แตกต่างกันต่อไป


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกอร ทองเรือง. (2562). ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในโรงเรียประถมศึกษาในอำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.

จิรนันท์ เนื่องนรา. (2556). ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา

เนตรนภิส เลิศเดชานนท์. (2553). ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ, มหาวิทยาลัยทักษิณ.

บูชิตา เนาวรัตน์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนโรงเรียนเขต อำเภอเมือง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต.

ผดุง วุฒิเอ้ย. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญและกําลังใจของข้าราชการทหาร สังกัดสำนักงานพัฒนาภาค 3 จังหวัดเชียงใหม่.การค้นคว้าแบบอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พัชรี คงดี. (2556). ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพุทธศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รุ่งทิวา วิบูลพันธ์. (2562). ศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

วรรณภา กลับคง. (2552). ขวัญและกําลังใจของครูในการปฏิบัติงานในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศาสตรา ปิ่นเพ็ชร. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญกำลังใจของครูในโรงเรียน กลุ่มอำเภอนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์.

ศูนย์เฝ้าระวังเชิงองค์ความรู้สถานการณ์ภาคใต้. (2561). ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศ ไทย. ค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2561. จาก: www.deepsouthwatch.org.

สมิต สัชฌุการ. (2561). การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่พนักงาน (วิธีการสร้างขวัญกำลังใจ) วิธีการสร้างขวัญกำลังใจ. ค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2561. จาก: https://www.tpa.or.th.

สรัลพร บัวระภา. (2562). ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนวัดใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สุรเชษฐ์สุวพร. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจภูธรเมืองนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.

สมบัติ ปัญญาจิรพงศ์. (2556). ขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของกำลังพลชั้นประทวน พลทหาร และอาสาสมัครในพื้นที่ปฏิบัติงานของกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด. ภาคนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, จันทบุรี.

อรกาญจน์ ฉีดเสนและอดุล นาคะโร. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานครู สังกัดเทศบาลนครภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

อรรคพร จอมคําสิงห์. (2559). ขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนท่าใหม่“พูลสวัสดิ์ราษฎร์นุกูล” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

Devis, K. & Newstrom, J.W. (1985). Human behavior at work : Organization behavior. New York: McGraw – Hill Book.

Flippo, Edwin B. (1961). Principle of Personnel Ad ministration. New York: McGraw-Hill ,1961

Herzberg, Frederick, Bernarol and Synderman, Barbara Bloch. (1959). The Motivation to Work. New York: John Wiley and Sons, lnc.

Milton. Charles R. (1981). Human Behavior in Organization : Three Level of Behavior,(New Jersey: Prentice – Hall.Inc.

Negro, P. (1995). Morale of Elementary School Teacher. New York: Happier and Row.

Yoder. (1959). Personnel Principle and Policies. Tokyo: Meruzen Company Ltd.