สภาพปัญหาและแนวทางการส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดชัยภูมิ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการกิจกรรมส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดชัยภูมิกลุ่มตัวอย่าง คือ ครู จำนวน 180 คน และผู้ปกครอง จำนวน 180 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้อำเภอในจังหวัดชัยภูมิเป็นชั้นในการแบ่งเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.6 - 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นที่ .846 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหา และแนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดชัยภูมิ1) ด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้บริหารควรมีการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาปฐมวัยที่ชัดเจน และคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน ควรจัดโครงสร้างที่ชัดเจนและเหมาะสม 2) ด้านบุคลากรผู้บริหารควรมีการคัดเลือกผู้ดูแลเด็กอย่างเหมาะสมพิจารณาตามความรู้ ความสามารถ และควรส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ดูแลเด็กมีขวัญและกำลังใจให้มีความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ และให้ผู้ดูแลเด็กเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กเล็กให้ครบทุกคน3) ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ห้องสุขาควรมีความสะอาด เหมาะสมและเพียงพอกับเด็ก ภายในอาคารควรมีมุ้งลวดติดบริเวณห้องนอนเด็ก ภายในอาคารควรมีแสงสว่างให้เพียงพอ อาคารเรียนควรได้มาตรฐานมีความมั่นคง แข็งแรง
4) ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตรควรมีเครื่องเล่นสนามให้เพียงพอกับจำนวนเด็ก ควรมีคณะกรรมการประเมินหลักสูตรให้ได้มาตรฐาน ควรมีสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยเด็ก ควรมีโครงสร้างหลักสูตรที่ชัดเจน5) ด้านการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากทุกภาคส่วนชุมชนควรมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรมีการประชาสัมพันธ์และประชุมชี้แจงให้ชุมชนทราบเกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ 6) ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัยเครือข่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงาน ปฏิทินงานและสรุปผลงาน และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในวันสำคัญต่างๆ ทำให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กรมวิชาการ.คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี ). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2546.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. คู่มือการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2549.
. คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2550.
กรมการพัฒนาชุมชน.อ.บ.ต. กับการพัฒนาสิทธิเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ยูไนเต็ดโปรดั๊กชั่น 2542.
กระทรวงศึกษาธิการ. ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. 2535.
______ .คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.
กาญจนา คุณารักษ์. พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
การฝึกอบรม เล่มที่ 2 หน่วยที่ 10 นนทบุรี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, 2544.
กรองกาญจน์ เชิญชัยวชิรากุล. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย ของโรงเรียนเอกชนใน
กลุ่มสมาคมสหศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 2550.
จารุณี กุลศรีวนรัตน์. การพัฒนาผู้ดูแลเด็กในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามาตรฐานการศึกษา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลบางไทรน้อย
อำเภอ หว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร.วิทยานิพนธ์ ค.บ. สาขาบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. 2553.
จิราวรรณ กันบุรมย์. ประสิทธิผลในการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 2548.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และพัชรินทร์ สิริสุนทร. “ความสามารถการหารายได้ของ อ.บ.ต. การศึกษาเชิง
ประจักษ์และข้อเสนอการเรียนรู้ร่วมกัน.” ใน วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ของคนไทย : รวม
บทความการนำเสนอในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2545 คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 32. กรุงเทพฯ : พี.เอ ลีฟวิ่ง. 2545.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2556.
นพรัตน์ โพธิ์ศรีทอง.รูปแบบสมรรถนะของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย. พิมพลักษณ์, 2550.
นิตยา คชภักดีและคณะ. การส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการบริหารงานโรงเรียนอนุบาลขอนแก่น.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัญฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2545.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์, 2554.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง: Civic Education. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์, 2555.
ปริยานุช ไกยสิทธิ์. การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเมืองสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลสามเมืองอำเภอสีดาจังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
พระธงชัย ดรนาม. พฤติกรรมการจัดประสบการณ์ของผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดกรมพัฒนาชุมชนจังหวัดมหาสารคาม. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
พลอยพัชชา อามาตย์. การพัฒนาบุคลากรในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเก่างิ้วอำเภอพลจังหวัดขอนแก่นสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเก่างิ้ว. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
พิมลมาลย์ พุ่มนิคม. สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ระดับก่อนประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเฉพาะกลุ่มเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2542
เพ็ญแข ประจนปัจจนึก และคณะ. การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทยเพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติ. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2551.
เยาวพา เดชะคุปต์. การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แม็ค, 2542.
_______. การพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. เอกสารในการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “พหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็ก” ณ หอประชุมใหญ่สำนักงานประถมศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ระหว่างวันที่ 25 – 27 คุลาคม 2544, 2544.
รวิพร ยันตพร. การจัดการศึกษาในระดับท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณีสมาชิกอง๕การบริหารส่วนตำบล จาก 17 ตำบลในจังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2544.
วัชรินทร์ หงษ์สา. การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลศาลเจ้าพ่อขุนศรีอำเภอหนองกี่จังหวัดบุรีรัมย์. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.
ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตที่ 11. รายงานการประเมินระดับการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2543. นครราชสีมา : ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต 11. 2544.
สำลี รักสุทธี และคณะ. เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : พัฒนาการศึกษา,
2544.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ. การศึกษาปฐมวัย.กรุเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2550.
สุรชาติ แสนทวีสุข. การเตรียมความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.
สุวิทย์ สมบัติ. กระบวนการพัฒนาเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสวนเขื่อน จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2540.
อารียา โอบนิธิกุล. การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองท้องถิ่นตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา : ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลเมืองบางบัวทองมหาวิทยาลัยรามคำแหง/กรุงเทพฯ, 2548.
อัญชลี ทองจันทร์. (2546). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการกับการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในจังหวัดเพชรบุรี โดยการวิเคราะห์เส้นทาง.วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อำนวย เดชชัยศรี. นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. คู่มือการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2549.
. คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2550.
กรมการพัฒนาชุมชน.อ.บ.ต. กับการพัฒนาสิทธิเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ยูไนเต็ดโปรดั๊กชั่น 2542.
กระทรวงศึกษาธิการ. ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. 2535.
______ .คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (สำหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2560.
กาญจนา คุณารักษ์. พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
การฝึกอบรม เล่มที่ 2 หน่วยที่ 10 นนทบุรี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, 2544.
กรองกาญจน์ เชิญชัยวชิรากุล. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย ของโรงเรียนเอกชนใน
กลุ่มสมาคมสหศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 2550.
จารุณี กุลศรีวนรัตน์. การพัฒนาผู้ดูแลเด็กในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามาตรฐานการศึกษา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลบางไทรน้อย
อำเภอ หว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร.วิทยานิพนธ์ ค.บ. สาขาบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. 2553.
จิราวรรณ กันบุรมย์. ประสิทธิผลในการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 2548.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และพัชรินทร์ สิริสุนทร. “ความสามารถการหารายได้ของ อ.บ.ต. การศึกษาเชิง
ประจักษ์และข้อเสนอการเรียนรู้ร่วมกัน.” ใน วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ของคนไทย : รวม
บทความการนำเสนอในการประชุมวิชาการ ประจำปี 2545 คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 32. กรุงเทพฯ : พี.เอ ลีฟวิ่ง. 2545.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2556.
นพรัตน์ โพธิ์ศรีทอง.รูปแบบสมรรถนะของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย. พิมพลักษณ์, 2550.
นิตยา คชภักดีและคณะ. การส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการบริหารงานโรงเรียนอนุบาลขอนแก่น.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัญฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2545.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์, 2554.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง: Civic Education. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์, 2555.
ปริยานุช ไกยสิทธิ์. การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเมืองสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลสามเมืองอำเภอสีดาจังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
พระธงชัย ดรนาม. พฤติกรรมการจัดประสบการณ์ของผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดกรมพัฒนาชุมชนจังหวัดมหาสารคาม. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
พลอยพัชชา อามาตย์. การพัฒนาบุคลากรในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเก่างิ้วอำเภอพลจังหวัดขอนแก่นสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเก่างิ้ว. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
พิมลมาลย์ พุ่มนิคม. สภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ระดับก่อนประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเฉพาะกลุ่มเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2542
เพ็ญแข ประจนปัจจนึก และคณะ. การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทยเพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติ. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2551.
เยาวพา เดชะคุปต์. การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แม็ค, 2542.
_______. การพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. เอกสารในการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “พหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็ก” ณ หอประชุมใหญ่สำนักงานประถมศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ระหว่างวันที่ 25 – 27 คุลาคม 2544, 2544.
รวิพร ยันตพร. การจัดการศึกษาในระดับท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณีสมาชิกอง๕การบริหารส่วนตำบล จาก 17 ตำบลในจังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2544.
วัชรินทร์ หงษ์สา. การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลศาลเจ้าพ่อขุนศรีอำเภอหนองกี่จังหวัดบุรีรัมย์. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.
ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตที่ 11. รายงานการประเมินระดับการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2543. นครราชสีมา : ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต 11. 2544.
สำลี รักสุทธี และคณะ. เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : พัฒนาการศึกษา,
2544.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ. การศึกษาปฐมวัย.กรุเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2550.
สุรชาติ แสนทวีสุข. การเตรียมความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.
สุวิทย์ สมบัติ. กระบวนการพัฒนาเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสวนเขื่อน จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2540.
อารียา โอบนิธิกุล. การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองท้องถิ่นตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา : ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลเมืองบางบัวทองมหาวิทยาลัยรามคำแหง/กรุงเทพฯ, 2548.
อัญชลี ทองจันทร์. (2546). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการกับการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในจังหวัดเพชรบุรี โดยการวิเคราะห์เส้นทาง.วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อำนวย เดชชัยศรี. นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542.