การเมืองภาคพลเมืองระดับท้องถิ่นในบริบทสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • winit Pharcharuen Bachelor of Political Science Program in Political Science, School of Administrative Studies Maejo University

คำสำคัญ:

การเมืองภาคพลเมือง, การเมืองภาคประชาชน, การปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้ผู้เขียนนำเสนอให้เห็นถึงแนวคิดการเมืองภาคพลเมืองที่ตระหนักถึงสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่และความรับผิดชอบและร่วมแก้ไขปัญหาของสังคม ทั้งนี้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองภาคพลเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม พร้อมสนับสนุนบทบาทที่เข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น การกระจายอำนาจ สู่การบริหารท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการขับเคลื่อนพัฒนาท้องถิ่น โดยผ่านกลไกตามระบบประชาธิปไตยเช่น การเลือกตั้ง การยื่นถอดถอน การทำประชามติ เป็นต้น นอกจากนั้นการเมืองภาคพลเมืองช่วยหนุนเสริมให้การเมืองภาคตัวแทนได้สามารถตอบสนองปัญหา ความต้องการของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นนั้นได้อย่างมีธรรมาภิบาลมากยิ่งขึ้น โดยการมีส่วนร่วมในการเมืองการบริหารท้องถิ่น เช่น การร่วมประชุมประชาคม การแสดงความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ การร่วมปฏิบัติงาน การร่วมตัดสินใจ การกำกับ และการตรวจสอบ เป็นต้น ผู้เขียนหวังว่าบทความนี้อาจเป็นหนึ่งช่องทางที่จะสามารถจุดประกายให้กระแสการเมืองภาคพลเมืองในระดับท้องถิ่นที่เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาบ้านเมือง “พลังพลเมือง” จึงเป็นคำตอบสุดท้ายของการปฏิรูปท้องถิ่นให้เกิดความก้าวหน้าสู่ความมั่นคงยั่งยืนในสังคมไทย

References

วิชัย ภู่โยธิน,สุคนธ์ สินธพานนท์, พิวรรษา นภารัตน์และดิษยา กุศลภุชฌงค์. (2552). หน้าที่
พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ม. 4 – ม. 6 กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education). กรุงเทพฯ : นาน
มีบุ๊คส์.
ประเวศ วะสี. (2551). การเมืองภาคพลเมือง การพัฒนาการเมืองไปสู่ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ :
สถาบันพระปกเกล้า.
ปธาน สุวรรณมงคล. (2560). การปฏิรูปการเมืองภาคพลเมืองในการเมืองการบริหารท้องถิ่นไทย.
วารสารสถาบันพระปกเกล้า 15,1 (ม.ค.-เม.ย. 2560)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40ก
6 เมษายน 2560
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557). จดหมายข่าวชุมชนคนรักสุขภาพ ฉบับ
สร้างสุข ฉบับที่ 154 สิงหาคม 2557.
สถาบันพระปกเกล้า. ประชาธิปไตยท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2563 จาก
http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ. (2559). รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
ด้านการปกครองท้องถิ่น เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2563 จากhttps://library2.parliament.go.th/giventake/content_nrsa2558/d070559-02.pdf
สน รูปสูง. (2553). คู่มือประชาธิปไตยชุมชน. กรุงเทพฯ : สำนักงนสภาพัฒนาการเมือง.
ศรัณยุ หมั้นทรัพย์. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง : ฐานรากของการเมืองภาคพลเมือง. สืบค้นเมื่อ 26
มีนาคม 2563 จาก http://kpi.ac.th/media/pda/M7_135.pdf.
Banks,J.A. (Ed). (2004). Diversity and citizenship education: Global Perspectives. San
Francisco, CA: Jossey-Bass.
Taskforce on Active Citizenship. (2007a). The Report of the Taskforce on Active
Citizenship. Dublin: The Secretariat of the Taskforce on Active Citizenship.
Rogers M.Smith. (2002). Political Citizenship: Foudations of Right in Handbook of
Citizenship Studies, edited by Engin F Isin and Bryan S Turner, London.
WEDNESDAY, (OCTOBER 20, 2010) การเมืองของพลเมืองหรือการเมืองภาคประชาชน. สืบค้น

เผยแพร่แล้ว

2020-12-14