การโต้กลับวาทกรรมการเมืองในเรื่องสั้นของลาว คำหอม

ผู้แต่ง

  • วัชรินทร์ แก่นจันทร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

การโต้กลับ, วาทกรรม, การเมือง, เรื่องสั้น, ลาว คำหอม

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่อง “การโต้กลับวาทกรรมการเมืองในเรื่องสั้นของลาว คำหอม” ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กระบวนการโต้กลับวาทกรรมการเมืองในเรื่องสั้นของลาว คำหอม ศึกษาจากเรื่องสั้นจำนวน 49 เรื่อง โดยใช้กรอบแนวคิด  วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (CDA) ในการวิเคราะห์    ับะห์กระบวนการสร้าง analysisรื่องสั้นของลาว คำหอม ผลการวิจัยพบว่ากระบวนการโต้กลับวาทกรรมการเมืองในเรื่องสั้นของลาว คำหอม มีอยู่ 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการสร้างวาทกรรมโต้กลับด้วยการประทุษวาจา 2) กระบวนการสร้าง   วาทกรรมโต้กลับด้วยกลไกป้องกันตนเองแบบการย้ายที่ และ 3) กระบวนการสร้างวาทกรรมโต้กลับด้วยอารยะขัดขืน

References

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และจันทิมาเอียมานนท์ (บรรณาธิการ). (2549). มองสังคมผ่านวาทกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนิตตา โชตติช่วง. (2555). วาทกรรมการพัฒนาและประชาสังคมในเรื่องสั้นชนบทไทย พ.ศ.2530-2539.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ญาณิศภาค กาญจนวิศิษฐ์. (2547). กระบวนการสร้างความหมายและบทบาทวาทกรรม รายการนายกฯ ทักษิณคุยกับ ประชาชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2546). ความคิด ความรู้ และอำนาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
นิธิ เอียวศรีวงศ์ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2550). วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ ปี 50 : ฉบับ ขุนนางรัฐประหาร.
สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2563, จาก http://www.midnightuniv.org /midnight2544/0009999681.html
ลาว คำหอม. (2539). ประเวณี. กรุงเทพฯ: แพรวสานักพิมพ์.
ลาว คำหอม. (2540). ลมแล้ง. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: แพรวสานักพิมพ์.
ลาว คำหอม. (2543). กำแพงลม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: แพรวสานักพิมพ์.
ลาว คำหอม. (2547). ฟ้าบ่กั้น. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: แพรวสานักพิมพ์.

เผยแพร่แล้ว

2020-12-14