ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
คำสำคัญ:
[ความสามารถในการแก้ปัญหา];[ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์];[การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้]บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ที่มีผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่2 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาช่างยนต์ จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตโดยใช้การจัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่องทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียน เท่ากับ 25.85 สูงกว่าค่าเฉลี่ยก่อนเรียน มีค่าเท่ากับ 14.40 และ นักเรียนมีความสามารถในการทำความเข้าใจปัญหา ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา และ ความสามารถในการนำเสนอวิธีคิดแก้ปัญหา อยู่ในระดับ ดีมาก ส่วนความสามารถในการตรวจสอบผลลัพธ์อยู่ในระดับ ดี
References
ทิศนา แขมมณี . (2546). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงค์พันธ์ ปิจดี (2554). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 อี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนาน้อย จังหวัดน่าน. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รวีวรรณ แปงน้อย. (2556). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เทคนิค การสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 อี. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เรวัต ศุภมั่งมี. (2542). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนววงจรการเรียนรู้. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันการทดสอบแห่งชาติ. (2561). ประกาศผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET). สืบค้น 30 เม.ย. 2561, จาก http://www.niets.ot.th/.
สุวิทย์ มูลคำและอรทัย มูลคำ.(2545). วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพ ฯ: ภาพพิมพ์.
สุวิทย์ มูลคำและอรทัย มูลคำ. (2545). วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะ. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .(2555). คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ระดับ ประถมศึกษาเพื่อส่งเสริม กิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ อักษรไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ ศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา . กรุง เทพฯ : กลุ่มพัฒนา นโยบายวิทยาศาสตร์ศึกษา สกศ.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2562).หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562. กระทรวงศึกษาธิการ
AKTAMIŞ, H., HİĞDE, E., & ÖZDEN, B. (2016). Effects of the inquiry-based learning method on students’ achievement, science process skills and attitudes towards science: A meta-analysis science. Journal of Turkish Science Education, 13(4), 248-261.
Bahtiyar, A., & Can, B. (2016). An investigation of problem-solving skills of preservice science teachers. Academic journal, 2108 –2115.
Biological Sciences Curriculum Study. (2005). The Process of Scientific Inquiry. สืบค้น พฤษภาคม 2562, จาก
http://science.education.nih.gov/supplements/nih6/inquiry/guide/nih_doing-science.pdf/.
Donnelly, R., & Fitzmaurice, M. (2005). Collaborative project-based learning and problem-based learning in higher education: A consideration of tutor and student roles in learner-focused strategies. Emerging issues in the practice of university learning and teaching, 87-98.
Dogru, M. (2008). The Application of Problem Solving Method on Science Teacher Trainees on the Solution of the Environmental Problems. International Journal of Environmental and Science Education, 3(1), 9-18.
Duran, L. B., & Duran, E. (2004). The 5E Instructional Model: A Learning Cycle Approach for Inquiry-Based Science Teaching. Science Education Review, 3(2), 49-58.
Ergül, R., Şımşeklı, Y., Çaliş, S., Özdılek, Z., Göçmençelebı, Ş., & Şanli, M. (2011). The Effects OF Inquiry-Based Science Teaching on Elementary School Students 'Science Process Skills and Science Attitudes. Bulgarian Journal of Science & Education Policy, 5(1), 48 – 68.
Hasruddin, H., Harahap, F., & Mahmud, M. (2017). The Development of Lesson Plan of Inquiry Contextual Learning to Improve the Higher Order Thinking Skill Students at Microbiology. Open Access Library Journal, 4(11),
1-11.
Li, Y., Huang, Z., Jiang, M., & Chang, T. W. (2016). The effect on pupils’ science performance and problem-solving ability through Lego: An engineering design-based modeling approach. Journal of Educational Technology & Society, 19(3), 143-156.
Magnussen, L., Ishida, D., & Itano, J. (2000). The impact of the use of inquiry-based learning as a teaching methodology on the development of critical thinking. .Journal of Nursing Education, 360–364.
Miller, B. T., Krockover, G. H., & Doughty, T. (2015). Using Science Inquiry Methods to Promote Self-Determination and Problem-Solving Skills for Students with Moderate Intellectual Disability. Education and Training in Autism and Developmental Disabilities, 50(3), 356 –368.
Ozturk, T., & Guven, B. (2016). Evaluating students’ beliefs in problem solving process: A case study. Eurasia Journal of Mathematics, Science and Technology Education, 12(3), 411-429.
Sormunen, K. (2008). Fifth-graders’ problem solving abilities in open-ended inquiry. Problems of Education in the 21st Century, 3, 48-54.
Weir, J. J. (1974). Problem solving is everybody's Problem. The Science Teacher, 41(4), 16-18.
Yanik, H. B., & Serin, G. (2016). Two fifth grade teachers' use of real-world situations in science and mathematics lessons. The Clearing House: A Journal of Educational Strategies, Issues and Ideas, 89(1), 28-37.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
แนวคิดและทัศนะในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ การนำบทความหรือส่วนหนึ่งของบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ ให้อ้างอิงแสดงที่มา และข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความ