การพึ่งตนเองของวิสาหกิจชุมชน
คำสำคัญ:
การพึ่งตนเอง, วิสาหกิจชุมชน, ชุมชนบทคัดย่อ
ชุมชนถือเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศ การพัฒนาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของชุมชนเป็นหลัก การพัฒนาชุมชนจึงเป็นกลไกอันสำคัญที่จะกำหนดทิศทาง เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนา และเสริมสร้างความแข็งแกร่ง โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม (Civil Society) อันหมายถึง การพัฒนาที่เกิดขึ้นจากความริเริ่มของคน โดยทุกฝ่ายในสังคมต่างให้ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อมุ่งหวังให้เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชนดีขึ้น (The Scottish Community Development Centre, 2014) การพึ่งตนเองของวิสาหกิจชุมชน เป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการสร้างอาชีพที่มีอยู่ในชุมชนอยู่แล้วให้ประชาชนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ การที่วิสาหกิจชุมชนจะดำเนินการให้ประสบความสำเร็จได้นั้น การพึ่งตนเองได้เป็นหลักคิดหนึ่งที่มีความสำคัญซึ่งการสร้างความเข้มแข็งจะประกอบไปด้วยการจัดการความรู้และการเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองนำไปสู่การพัฒนาเป็นองค์ความรู้หรือนวัตกรรมใหม่ทำให้เป็นอาชีพชุมชนที่สร้างรายได้แก่ชุมชน ความร่วมมือของคนในชุมชน เป็นการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชุมชน ทำให้เกิดการพัฒนาอย่างเข้มแข็งของชุมชน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดพื้นฐานของการพึ่งตนเองของวิสาหกิจชุมชนในประเด็นเกี่ยวกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในชุมชนที่ชุมชนพึ่งตนเองได้และสร้างความยั่งยืนแก่ชุมชน การดำเนินตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการใช้หลักแนวคิดมาใช้ในการดำเนินชีวิตเพื่อสร้างความพอเพียงในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เป็นการใช้องค์ความรู้มาใช้ในการเสริมสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและนำไปสู่การสร้างรายได้มาสู่ชุมชนได้มากขึ้น เพื่อนำไปสู่แนวทางการพัฒนาการพึ่งตนเองของวิสาหกิจชุมชนต่อไป
References
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2561). รายงานจำนวนและสมาชิกของวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่อนุมัติการจดทะเบียนแล้วจำแนกตามพื้นที่ตั้งประประเทศ. สืบค้น 20 เมษายน 2565, จากhttp://smce.doae.go.th /smce1/report/report_smce_member.php.
กฤตยาวดี เกตุวงศา, ณกานต์ บัวเผื่อน, ศิววงศ์ เพชรจุล. (2555). การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีวิทยาของการสร้างทฤษฎีฐานราก : กรณีศึกษาโรงเรียนชุมชนชาวนา.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 1(1), 12-24.
กนกกร จีนา, อลงกรณ์ คูตระกูล. (2561). กระบวนการถ่ายทอดความรู้จากมหาวิทยาลัยสู่ชุมชน:กรณีศึกษาโครงการอนุรักษ์วิหารพระเจ้าพันองค์ วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 9(1), 59-80.
กาญจนาแก้วเทพ และกนกศักดิ์ แก้วเทพ. (2550). การพึ่งตนเอง ศักยภาพในการพัฒนาของชนบท. รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กีรติวรรณ กัลยาณมิตร, สัณหณัฐ จักรภัทรวงศ์, วิจิตรา ศรีสอน. (2563). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง:กรณีศึกษาชุมชนตำบลหัวดง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร. วารสารรัชตภาคย์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(34), 69-85.
กันยาวรรนธ์ กำเนิดสินธุ์. (2560). การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนบางน้ำผึ้งในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม. วารสารสารสนเทศ, 16(1), 175-184
ฐิติวัจน์ ทองแก้ว, พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2559). การสร้างพื้นที่ทางสังคมและการดำรงอัตลักษณ์ของคนพิการที่ทางานในองค์กรด้านการสื่อสารโทรคมนาคม. วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 9 (3), 1443-1462.
ธวัชชัย พินิจใหม่, สุดารัตน์ แช่มเงิน, สาวิตรี รังสิภัทร์, ทิพวัลย์ สีจันทร์. (2560). การพึ่งตนเองของวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรพื้นบ้านนาโพธิ์ ตำบลท่าแร้ง อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี.วารสารการวิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3). 70-80.
นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา. (2561). การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารเกษมบัณฑิต, 19(2), 155-167.
นุรนัจมาล์ แวโด. (2557). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ประสิทธิ์ ลีปรีชา.(2557). บทความปริทรรศน์ : กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์. วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 10(3). 219-242.
พรรณิภา ซาวคา, ปริพรรน์ แก้วเนตร, ณฐมน สังวาล,งามนิจ แสนนาพล, ภูวนารถ ศรีทอง. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเข้าสู่ตลาดธุรกิจโรงแรม จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(1), 165-182.
วรรณพรรธน์ ริมผดี. (2554). กลยุทธ์การสื่อสารตลาดเชิงบูรณาการสำหรับธุรกิจโรงแรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต.
วารุณี สุนทรเจริญนนท์. (2557). สร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการสร้างสรรค์ไม่ยากอย่างที่คิด. สืบค้น16 มิถุนายน 2564. จาก http://www.amexteam.com/resources/helper/editor/upload/knowledge/1/01.pdf
วิทยา จันทะวงศ์ศรี. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิศลย์ธีรา เมตตานนท์. (2560). การจัดการความรู้ในวิสาหกิจชุมชน: ทางเลือกในการพัฒนาความสามารถในการอยู่รอด. วารสารคณะศิลปะศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 9(1), 103-126.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2543). ทฤษฎีและกลยุทธ์ในการพัฒนาสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวทางการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี พงศ์พิศ. (2546). แผนชีวิต เศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภูมิปัญญาไทย.
สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2556). ภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการพัฒนา:ฟื้นคน ฟื้นภาษา ในภาวะวิกฤต. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 32(2), 5-18.
สำนักเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2548). วิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรมส่งเสริมการเกษตร.
สํานักงานกองทุนเพื่อสังคม. (2543). แผนชุมชนพึ่งตนเอง. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความเขมแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ: ธนาคารออมสิน.
Cohen, J.M., & Uphoff, N.T. (1980). Participations place in rural development: Seeking clarity through specificity. New York: World Developments
Durst, S. & Edvardsson, I. R. (2012). Knowledge Management in SMEs: A Literature Review. Journal of Knowledge Management, 16(6), 879-903.
Gao, F., Li, M., & Nakamori, Y. (2002). Systems thinking on knowledge and its management: Systems methodology for knowledge management. Journal of Knowledge Management, 6(1), 7-17
Gharakhani, D. and Mousakhani, M. (2012) Knowledge Management Capabilities and SMEs’ Organizational Performance. Journal of Chinese Entrepreneurship, 4, 35-49.
Hackbarth, G. (1998). The impact of organizational memory on IT systems. Proceedings of the Fourth Americas Conference on Information Systems. Baltimore, Maryland, USA, August 14-16,1998.
Kogut, B., & Zander, U. (1992). Knowledge of the firm, combinative capabilities, and the replication of technology. Organization Science, 3(3), 383-397.
Lee, S. M., & Hong, S. (2002). An enterprise-wide knowledge management system infrastructure. Industrial Management & Data Systems, 102(1/2), 17-25.
Sanyawiwat, S. (2001). Self-reliance in moral economy. Bangkok: Chulalongkorn University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสหวิทยาการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
แนวคิดและทัศนะในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ การนำบทความหรือส่วนหนึ่งของบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ ให้อ้างอิงแสดงที่มา และข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความ