ความรุนแรงที่ปรากฏในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์
คำสำคัญ:
ความรุนแรง, เรื่องสั้น, รางวัลซีไรต์บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความรุนแรงที่ปรากฏในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-2566 จำนวน 15 เล่ม โดยใช้ทฤษฎีความรุนแรงของโยฮัน กัลตุง (Johan Galtung, 1996) มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบความรุนแรงใน 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. ความรุนแรงทางตรง ประกอบด้วยความรุนแรงด้านร่างกาย การประทุษวาจา ทรัพย์สิน และเพศ 2. ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง ประกอบด้วยความรุนแรงด้านการศึกษา เพศ อาชีพ ตำแหน่ง และสถานภาพทางสังคม และ 3. ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม ประกอบด้วยความรุนแรงด้านภาษาและเพศ นอกจากนี้ความรุนแรงทางตรงที่ปรากฏในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์นั้น มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์จริงในสังคม โดยมีปรากฏการณ์ของอำนาจ อุดมการณ์ และความขัดแย้ง โดยเฉพาะอำนาจปิตาธิปไตยที่หยั่งรากลึกในสังคมไทย จึงทำให้เกิดความชอบธรรมในการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิง ซึ่งเป็นความรุนแรงเชิงโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
References
กนกพงศ์ สงสมพันธุ์. (2562). แผ่นดินอื่น. ปทุมธานี: นาคร.
กรองกาญจน์ อัชฌายะสุนทร. (2557). จากหยาดน้ำตาสู่หยดหมึก: ความรุนแรง บาดแผล และการเยียวยาในนวนิยายของดาชา มาราอินี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จเด็จ กำจรเดช. (2562). แดดเช้าร้อนเกินกว่าจะนั่งจิบกาแฟ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.
___________. (2563). คืนปีเสือและเรื่องเล่าของสัตว์อื่น ๆ. กรุงเทพฯ: ผจญภัยสำนักพิมพ์.
จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท. (2560). สิงโตนอกคอก. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์.
ชัยวัฒน์ สถาอนันท์. (2553). ความรุนแรงซ่อน/หาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
ญาณิกา แสนสุริวงค์. (2557). ความรุนแรงในนวนิยายที่เกี่ยวกับอาหรับของโสภาค สุวรรณ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดนัยภัทร โภควาณิช. (2563). ขอบเขตการใช้เสรีภาพในการแสดงออก: กรณีศึกษาการใช้ประทุษวาจา (Hate Speech). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทีมไทยรัฐ. (15 กรกฎาคม 2566). ไทยติดท็อปเท็นของโลกใช้ความรุนแรงในสังคม. ไทยรัฐออนไลน์.
บัณฑิต สุนทรวิกรานต์. (2559). ทวิลักษณ์เชิงลักษณะในการจัดการความขัดแย้งและการพัฒนาที่ดินของชุมชน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 58-59.
บินหลา สันกาลาคีรี. (2556). เจ้าหงิญ. กรุงเทพฯ: ไรต์เตอร์.
บุญเสริม หุตะแพทย์. (2545). ลักษณะการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาความรุนแรงในครอบครัว. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รสริน ดิษฐบรรจง. (2558). ภาพสะท้อนความรุนแรงในครอบครัวที่ปรากฏในนวนิยายครอบครัวไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัตติกา กรรณิกา. (2559). ความขัดแย้งของตัวละครในวรรณกรรมซีไรต์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
วชิรวิชญ์ คนทา. (2566). ความรุนแรงในเรื่องสั้นที่ผ่านการคัดเลือกให้เข้ารับการตัดสินรอบสุดท้ายเพื่อรับรางวัลซีไรต์ประจำปี 2560. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา.
วัชรินทร์ แก่นจันทร์. (2560). วาทกรรมความรุนแรงในนิทานพื้นบ้านล้านนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วินทร์ เลียววาริณ. (2542). สิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าคน. กรุงเทพฯ: 113.
อัญชัญ (2538). อัญมณีแห่งชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ธรรมสารการพิมพ์.
Bai Xiaoyu. (2562). ความขัดแย้งในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยหัวเฉียวพระเกียรติ.
Galtung, J. (1996). Peace by peaceful Means: Peace and conflict, development and civilization. Oslo, Noway: International peace Research Institute.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
แนวคิดและทัศนะในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ การนำบทความหรือส่วนหนึ่งของบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ ให้อ้างอิงแสดงที่มา และข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความ