การพัฒนาวิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้มเพื่อการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ Fiet Ambassador

ผู้แต่ง

  • สุนทรียา จิตร์ถาวรมณี ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • พรปภัสสร ปริญชาญกล ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

คำสำคัญ:

วิชวลคอนเทนต์, ประชาสัมพันธ์, ภาพลักษณ์

บทคัดย่อ

วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาคุณภาพของวิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้มเพื่อการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์ Fiet Ambassador เพื่อประเมินผลการรับรู้และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) วิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้มเพื่อการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์ Fiet Ambassador 2) แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านสื่อการนำเสนอของวิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้มเพื่อการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์ Fiet Ambassador 3) แบบประเมินผลการรับรู้และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยสมาชิกเพจสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ที่รับชมวิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้ม และยินดีให้ความร่วมมือในการทำแบบประเมิน ดำเนินการโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งผลจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า มีผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา อยู่ในระดับดี ( gif.latex?\bar{x}= 4.33, S.D. = 0.51) ผลการประเมินคุณภาพด้านสื่อการนำเสนออยู่ในระดับดีมาก ( gif.latex?\bar{x} = 4.71, S.D. = 0.38) ผลการประเมินด้านการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{x} = 4.68, S.D. = 0.47) และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{x} = 4.52, S.D. = 0.50) ดังนั้นวิชวลคอนเทนต์แบบอัลบั้มเพื่อการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์ Fiet Ambassador ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ได้จริง

References

Bell, 2563, วิชวลคอนเทนต์ (Visual Content) [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.rain maker.in.th/10-visual-content/ [1/03/2564].

ณัฐพร วรคุณวิเศษ, 2556, การพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา, วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หน้า 44.

โอเล่พิ้งค์, 2551, การประชาสัมพันธ์ [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/188676 [1/03/2564].

เสรี วงษ์มณฑา, 2540 การประชาสัมพันธ์เชิงปฏิบัติ, กรุงเทพฯ : บริษัท เอ.เอ็น. การพิมพ์ หน้า 27-28

วิรัช ลภิรัตนกุล, 2544 การประชาสัมพันธ์.พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ หน้า 33

สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2561, กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) หน้า 2.

เพจเฟซบุ๊กFIET Ambassador Boy&Girl, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.facebook.com/FIET Ambassador [1/03/2564].

ณัฐพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง, 2557, Content Marketing เล่าให้คลิก พลิกแบรนด์ให้ดัง, กรุงเทพฯ: เนชั่น อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็ดดูเทนเมนต์

วราภรณ์ ชวพงษ์, 2548, ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตามการรับรู้ของชุมชน ท้องถิ่นอําเภอหาดใหญ่, สํานักงานอธิการบดี กองกลางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Christopher, S. S., 2012, Capital Letter PR and Online Branding Corporate Perceptions in a Digital Space: Branding Goodyear Engineered Products in the Automotive Aftermarket Online, Kent State University. Master of Arts.

เพจเฟซบุ๊กสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https:// www. facebook.com/smo.fiet [1/03/2564].

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์, 2543, สถิติเบื้องต้นทางการศึกษา, ครั้งที่1 ภาควิชาประเมินและวิจัยทางการศึกษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่, หน้า 52.

ปราณี หลำเบ็ญสะ, 2559, การหาคุณภาพของเครื่องวัดและประเมินผล, สาขาการวัดและประเมินผล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา หน้า 2-3.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มาตราวัดทัศนคติของลิเคิร์ท [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https:// dc.oas.psu. ac.th/ dcms/ files/00311/Chapter2.pdf [11/03/2564].

ปรเมษฐ์ ศรีทาสังข์, ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://sites.google.com/ site/group1class52557/2-citwithya-kar-reiyn-ru/ 2-4-paccay-thi-mi-xiththiphl-tx-kar-reiyn-ru [2/04/2564].

จำนง สันตจิต, 2555, ADDIE MODEL [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://gotoknow.org/posts/520517 [2/04/2564].

วราภรณ์ ศรีวิรุฒ, 2556, การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาวะ

ผู้นำและเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา, โครงงานศึกษาปริญญา ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การเรียนรู้และสื่อสารมวลชน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, หน้า ข.

อรุณรัตน์ ชินวรณ์, 2553, สื่อประชาสัมพันธ์, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 52.

ศิริประภา ประภากรเกียรติ, 2562, การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยใช้แนวคิดชุมชนเป็นฐาน, จังหวัดมหาสารคาม วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน้า ง.

วชิระ ขินหนองจอก, 2555, ทฤษฎีการรับรู้ [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.gotoknow. org/posts/282194 [2/04/2564].

เพ็ญนภา โชติธรรมโม, 2562, การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมในรูปแบบภาพสัญลักษณ์ เรื่อง สุขภาพในช่องปากสำหรับเด็ก, ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

กาญจนา อรุณสุขรุจี, 2546, ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดำเนินงานของสหกรณ์, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า 35.

วลัยลักษณ์ เลี้ยงดีศรีสุข, 2554, สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ครูลำปาง จำกัด, การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาสหกรณ์สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน้าบทคัดย่อ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27