พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Thai MOOC รายวิชาการแสดงและกำกับการแสดง

ผู้แต่ง

  • กิตติพัฒน์ สุนทรนิทัศน์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • เพียงกมล เกิดสมศรี สาขานิเทศศาสตร์นวัตกรรม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการเรียนชุดการเรียนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์, สื่อสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Thai MOOC รายวิชาการแสดงและกำกับการแสดง 2.พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Thai MOOC รายวิชาการแสดงและกำกับการแสดง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้เข้าศึกษา 250 คน เพื่อสำรวจพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ Thai MOOC รายวิชาการแสดงและกำกับการแสดง ผลการศึกษาพบว่า  พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาเพศหญิง มากกว่า เพศชาย

References

กิตติพร เนาว์สุวรรณ และชัยรัตน์ จุสปาโล, 2557, การเตรียมความพร้อม การจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาเพื่อการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน, วารสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 6(2), 156- 168.

ชมพูนุท เมฆเมืองทองและศิริประภา แสงจิตร, 2561, การพัฒนาสื่อใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารด้วยสื่อสังคมออนไลน์, วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. 5(2), 200-209

ณัฐพล ปัญญโสภณ, 2552, การแสดง, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นพมาศ แววหงส์, 2550, ปริทัศน์ศิลปะการละคร. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.

บุบผา เมฆศรีทองคำ, และขจรจิต บุนนาค, 2557, พฤติกรรมการบริโภคข่าวผ่านสื่อเฟซบุ๊คของคนต่างวัยในสังคมไทย,วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 8(3), 230-247.

American Press Institute, 2018, How American describe their news consumption behaviors, Media Insight Project. Retrieved from https://www.americanpressinstitute.org/publications/reports/survey-research/Americans-news-consumption/

Behrman, J., & Birdsall, N., 1988, The reward for good timing: Cohort effects and earnings functions for Brazilian males, The Review of Economics and Statistics, 70(1), 129-135.

Eric, M. E., 2009, Encyclopedia of communication theory, In W. L. Stephen, & A. F. Karen (Eds.), California : SAGE Publications, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27