การประยุกต์ใช้แดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอสำหรับการรายงานทุนการศึกษา
คำสำคัญ:
การนำเสนอแผนภาพข้อมูล, แดชบอร์ด, ทุนการศึกษา, เพาเวอร์บีไอบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อการประยุกต์ใช้แดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอสำหรับการรายงานการนำเสนอแผนภาพข้อมูลของทุนการศึกษา ในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) การศึกษานี้มี 3 ขั้นตอน คือ 1) การรายงานของทุนการศึกษาในรูปแบบปัจจุบัน 2) การพัฒนาการรายงานของทุนการศึกษาด้วยแดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอ และ 3) การประเมินความพึงพอใจต่อการนำเสนอแผนภาพข้อมูลของทุนการศึกษาด้วยแดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอ
ผลการวิจัยพบว่า รายงานที่มีใช้ปัจจุบันในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.87 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.12 ในขณะที่รายงานที่ได้รับการพัฒนาด้วยแดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.23 นั่นแสดงว่า ผู้บริหารมทร.อีสาน ผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบด้านกองทุนการศึกษาของมทร.อีสาน ผู้ให้ทุน และนักศึกษาที่ได้รับทุน มีความต้องการรายงานที่ได้รับการพัฒนาด้วยแดชบอร์ดบนเพาเวอร์บีไอ
References
ปรีดี นุกุลสมปรารถนา (2565). รูปแบบการนำเสนองาน (Presentation) กับความเหมาะสมในการใช้งาน [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://www.popticles.com/business/presentation-types-and-styles/, เข้าดูเมื่อวันที่ 12/09/2565.
Big Data Thailand (2021). เลือกแผนภาพอย่างไรสำหรับการทำ Data Visualization [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://bigdata.go.th/big-data-101/picking-chart-for-data-visualization/, เข้าดูเมื่อวันที่ 12/09/2565.
1STCRAFT Team (2020). Data Visualization คืออะไร? พร้อม Tools แนะนำแบบใช้งานง่าย [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://1stcraft.com/what-is-data-visualization/, เข้าดูเมื่อวันที่ 12/09/2565.
STEPS ACADEMY (2020). เทรนด์การทำ Data Visualization เพื่อธุรกิจในปี 2021 [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://stepstraining.co/trendy/data-visualization-trends-in-2021, เข้าดูเมื่อวันที่ 12/09/2565.
TECHSAUCE KNOWLEDGE SHARING PLATFORM (2020). ทำความรู้จัก Dashboard คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร ทำไมควรทำ? [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://techsauce.co/tech-and-biz/what-is-dashboard, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
จิรัชยา สมบูรณ์ชัย (ม.ป.ป.). ทำความรู้จัก Dashboard คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร ทำไมควรทำ ? [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NDEwNTkx&method=inline, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
FUSION SOLUTION (2022). Dashboard [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://www.fusionsol.com/blog/dashboard/, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
Present Data Science ChillChill (2016). Dashboard คืออะไร พร้อมประโยชน์และตัวอย่าง [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://blog.datath.com/dashboard-data-analysis/, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
W JAMES Company Limited (2020). 7 เครื่องมือสร้าง Data Visualization แปลงข้อมูลลายตาให้เป็น Dashboard ที่เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://thegrowthmaster.com/blog/7-best-data-visualization-tools, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
Muntean, M., Sabau, G., Bologa, A., Surcel, T. and Florea, A. (2010). Performance Dashboards for Universities, in 2nd International Conference on Manufacturing Engineering, Quality and Production Systems 2010, Constantza Maritime University, Constantza, Romania.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ม.ป.ป.). ระบบงานพัฒนารายงานสารสนเทศรวมแบบ Dashboard [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://dashboard.kku.ac.th/, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2565). Dashboard จุฬาฯ เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ตัดสินใจ วางแผนและติดตามงาน ในภาควิชาอย่างมีประสิทธิภาพ [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://www.chula.ac.th/news/84566/, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
Bucknell University (2022). University Dashboard [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา https://www.bucknell.edu/university-dashboard, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/09/2565.
รัตนา สุวรรณวิชนีย์ และ ปราลี มณีรัตน. (2560). การพัฒนาระบบรายงานรูปแบบหลายมิติเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 9(1), 66-75.
ดวงกมล โพธิ์นาค. (2559). การศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 5(2), 45-58.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
จริยธรรมในการตีพิมพ์บทความ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์พิจารณาบทความที่มีรูปแบบและคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามข้อกำหนดเท่านั้น หากบทความนั้นไม่ตรงตามข้อกำหนด กองบรรณาธิการฯ มีสิทธิ์ในการปฏิเสธลงตีพิมพ์
- ในการขอหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ กองบรรณาธิการฯจะออกให้ในกรณีที่บทความนั้นพร้อมที่จะลงตีพิมพ์โดยไม่มีเงื่อนไขเท่านั้น
- การพิจารณาบทความ (Peer review) ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีถือเป็นที่สิ้นสุด ผลงานวิชาการอาจไม่ได้ลงตีพิมพ์ในเล่มที่กำหนดไว้จนกว่าจะผ่านการพิจารณาบทความ (Peer Review) และพร้อมจะลงตีพิมพ์เผยแพร่แล้วเท่านั้น
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์และสัตว์จะต้องผ่านการประเมินโดยกรรมการจริยธรรมของต้นสังกัด
- บทความที่ส่งมาต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร JLIT