การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับ แนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของ นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน, แนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบ, แนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์, มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต และเพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่พัฒนาขึ้น ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสยาม จำนวน 13 คน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการวิจัยพบว่าได้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่ประกอบด้วย 1) สร้างความสนใจ (Motivate: M) 2) สำรวจตรวจสอบ (Investigate: I) 3) สร้างมโนทัศน์ (Conceptualize: C) และ 4) ประยุกต์ใช้มโนทัศน์ (Apply: A) และการวัดผลและประเมินผลโดยมีผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน นักศึกษาทีเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มีมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
Enger, S.K. and Yager, R. E., 2001, Assessing Student Understanding in Science. Thousand Oaks, CA: Corwin Press Inc.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560, สภาวะการศึกษาไทย ปี 2558/2559 ความจำเป็นของการแข่งขันและการกระจายอำนาจ ในระบบการศึกษาไทย, กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.
Atkin, J. and Karplus, R., 1962, Discovery of invention?. The Science Teacher, vol. 29(5), pp. 45 - 51.
Bybee, R. W., 1997, Achieving Scientific Literacy: From Purposes to Practices, Heinemann, 88 Post Road West, PO Box 5007, Westport, CT 06881.
Eisenkraft, A., 2003, Expanding The 5E Model: A Proposed 7E Model Emphasizes “Transfer Of Learning” And The Importance Of Eliciting Prior Understanding, [Teacher Practitioner]. The Science Teacher, 70, pp. 56 - 59.
Hanson, D. M., 2006, Instructor's Guide to Process-Oriented Guided-Inquiry Learning, Lisle, IL: Pacific Crest.
Keeley, P., 2008, Science Formative Assessment: 75 Practical Strategies for Linking Assessment, Instruction, and Learning. California: Corwin.
Kolb, D. A., 1981, Learning Styles and Disciplinary Differences, Learning styles and disciplinary differences, In Chickering, A. W. and Associates (Eds.) The Modern American College. San Francisco, Jossey-Bass Publishers, pp. 232-255.
Joplin, L., 1981, On Defining Experiential Education, The Journal of Experiential Education, vol. 4 (1), pp. 17-20.
Dean, G. J., 1993, Developing Experiential Learning Activities for Adult Learners, In American Association for Adult and Continuing Education National Conference, Dallas, TX.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์., 2544, การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม่: เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์.
Romey, W. D., 1968, Inquiry Techniques for Teaching Science, New Jersey: Prentice-Hall.
Sun, R. B. and Trowbridge, L. W., 1973, Teaching Science by Inquiry in the Secondary School, 2nd edition, Columbus: Charles E. Merrill.
Jones, B. L., 1990, Developing a Taxonomy of Science Concepts based on a Scale of Empirical Distance. Research in Science Education, vol. 20, pp. 161-170.
Carin, A. A., 1993, Teaching Science through Discovery. New York: Macmillan Publishing Company.
Konicek-Moran, R. and Keeley, P., 2015, Teaching for Conceptual Understanding in Science, Virginia: NSTA press.
สุวัฒน์ นิยมค้า., 2531, ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: เจเนอรัลบุ๊คส์ เซนเตอร์.
ประสาท เนืองเฉลิม, 2558, การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21, กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์.
พันธ์ ทองชุมนุม, 2547, การสอนวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
Anderson, R. C. and Faust, G. W., 1973, Educational Psychology the Science of Instruction and Learning. New York: Harper & Row Publisher.
Nitko, A. J. and Brookhart, S. M., 2007, Educational Assessment of Students. 5th edition. New Jersey: Pearson Merrill Prentice Hall.
นาตยา ปิลันธนานนท์, 2542, การเรียนรู้ความคิดรวบยอด Concept learning. กรุงเทพฯ.
Abraham, M. R., Williamson, V. M. and Westbrook, S. L., 1994, A Cross-Age Study of the Understanding of Five Chemistry Concepts. Journal of Research in Science Teaching, vol.29(2), pp. 147-165.
Carin, A. A., & Sund, R. B., 1971, Developing Questioning Techniques: A Self Concept Approach. Ohio: Bell & Howell.
Sun, R. B. and Trowbridge, L. W., 1973, Teaching Science by Inquiry in the Secondary School, 2nd edition, Columbus: Charles E. Merrill.
Omstein, C. A., 1987, Emphasis on Student Outcomes Focuses Attention on Quality of Instruction, NASSP Bulletin (January).
Martin, R. E., Wood, G. E., and Stevens, E. W., 1998, An Introduction to Teaching a Question of Commitment. Massachusetts: Allyn & Bacon.
Feden, P. D. and Vogel, R. M., 2003, Methods of Teaching: Applying Cognitive Science to Promote Student Learning. New York: McGraw-Hill.
ประยุกต์ ประทุมทิพย์, 2540, วิธีการสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม.
Vygotsky, L. S., 1978, Though and Language. Massachusetts: The MIT press website.
Rochler, L. R. and Cantlon, D. J., 1996, Scaffolding: A Powerful Tool in Social Constructivist Classroom. URL: http://ed.Webs.edu.msu.edu/literacy/papers/paperlr2.htm.
Eggen, P. and Kauchak., 1997, Educational Psychology: Windows on Classroom, 3rd edition, Upper Saddle River: Prentice-Hall.
Hannafin, M., 1999, Learning in Open-Ended Environments: Tool and Technologies for the Next Millennium, URL: http://it.coe.uga.edu/itforum/paper34/html.
Kolb, D.A., 1984, Experiential Learning: Experience as The Source of Learning and Development. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Konicek-Moran, R. and Keeley, P., 2015, Teaching for Conceptual Understanding in Science. Arlington: NSTA Press, National Science Teachers Association.
Jacobson, W. J. and Bergman, A. B., 1999, Science for Children and Book for Teachers. 3rd edition. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
สุทธิดา จำรัส, 2560, การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1. ในประมวลสาระชุดวิชาสารัตถะวิทยวิธี และธรรมชาติของวิทยาศาสตร์. (หน่วยที่ 8). (พิมพ์ครั้งที่ 5). นนทบุรี: สาขาศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณพัฐอร บัวฉุน, นฤมล ยุตาคม และ พจนารถ สุวรรณรุจิ, 2559, สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ฉบับที่ 11(2), หน้า 97 – 109.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
จริยธรรมในการตีพิมพ์บทความ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์พิจารณาบทความที่มีรูปแบบและคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามข้อกำหนดเท่านั้น หากบทความนั้นไม่ตรงตามข้อกำหนด กองบรรณาธิการฯ มีสิทธิ์ในการปฏิเสธลงตีพิมพ์
- ในการขอหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ กองบรรณาธิการฯจะออกให้ในกรณีที่บทความนั้นพร้อมที่จะลงตีพิมพ์โดยไม่มีเงื่อนไขเท่านั้น
- การพิจารณาบทความ (Peer review) ของวารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีถือเป็นที่สิ้นสุด ผลงานวิชาการอาจไม่ได้ลงตีพิมพ์ในเล่มที่กำหนดไว้จนกว่าจะผ่านการพิจารณาบทความ (Peer Review) และพร้อมจะลงตีพิมพ์เผยแพร่แล้วเท่านั้น
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์และสัตว์จะต้องผ่านการประเมินโดยกรรมการจริยธรรมของต้นสังกัด
- บทความที่ส่งมาต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร JLIT