การใช้แพลตฟอร์มอัตโนมัติเพื่อติดตามคะแนนการเรียนรายบุคคลสำหรับการศึกษา ออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ

ผู้แต่ง

  • อรยา สุขนิตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • สุรสิทธิ์ ศักดา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • วลัยรัชช์ นุ่นสงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

คำสำคัญ:

ไลน์บอท, แชทบอท, การจัดการเรียนการสอน, แพลตฟอร์มอัตโนมัติ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการใช้แพลตฟอร์มอัตโนมัติเพื่อติดตามคะแนนการเรียนรายบุคคลสำหรับการศึกษาออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ  โดยการนำเทคโนโลยีไลน์บอท เป็นช่องทางในการสื่อสารระหว่างผู้เรียนและผู้สอนด้วยระบบตอบกลับอัตโนมัติจากข้อมูลผลการเรียนและข้อความตอบกลับที่ผู้สอนบันทึกไว้ใน googlesheet ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลกันผ่านสถานการณ์ต่างๆ ด้วยแพลตฟอร์มอัตโนมัติ make กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือนักศึกษาที่ศึกษาจำนวน 30 คนและอาจารย์ผู้สอนจำนวน 5 คน  โดยประเมินผลการใช้ประโยชน์ด้วยแบบสอบถาม พบว่า 1) กลุ่มนักศึกษามีความเห็นถึงความเหมาะสมในการนำไปใช้ประโยชน์อยู่ในระดับ มากที่สุด  กลุ่มผู้สอนมีความเห็นในความเหมาะสมในการนำไปใช้ประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด   โดยทั้ง 2 กลุ่มมีความคิดเห็นไปในแนวทางเดียวกัน  สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

References

A. Ban, N. Che'Pa, J. Din, and N. A. M. Yaa'cob, "Integrating social collaborative features in Learning Management System: A case study," in 2017 IEEE Conference on e-Learning, e-Management and e-Services (IC3e), 2560: IEEE, pp. 67-72.

K. Abe, "Data mining and machine learning applications for educational big data in the university," in 2019 IEEE Intl Conf on Dependable, Autonomic and Secure Computing, Intl Conf on Pervasive Intelligence and Computing, Intl Conf on Cloud and Big Data Computing, Intl Conf on Cyber Science and Technology Congress (DASC/PiCom/CBDCom/CyberSciTech), 2562: IEEE, pp. 350-355.

W.P.Review. "Line Users by Country 2024." https://worldpopulationreview.com/country-rankings/line-users-by-country (accessed August, 31, 2567).

A. Rahmati, E. Fernandes, J. Jung, and A. Prakash, "IFTTT vs. Zapier: A comparative study of trigger-action programming frameworks," arXiv preprint arXiv:1709.02788, 2560.

Y.-H. Chen, N.-F. Huang, J.-W. Tzeng, C.-a. Lee, Y.-X. Huang, and H.-H. Huang, "A personalized learning path recommender system with LINE bot in MOOCs Based on LSTM," in 2022 11th International Conference on Educational and Information Technology (ICEIT), 2565: IEEE, pp. 40-45.

ณภัทร ไชยพราหมณ์, ณัฐวุฒิ ทุมนัต, และ ชูพันธุ์ รัตนโภคา, "ระบบตอบกลับและแจ้งข้อมูลทางการศึกษาผ่านไลน์บอท," Journal of Information Science & Technology, vol. 10, no. 2, 2563.

V. Sittakul, S. Judprasong, and N. Saengmanee, "Smart Quiz System for Classroom via LINEBot," in 2019 Research, Invention, and Innovation Congress (RI2C), 2019: IEEE, pp. 1-4.

A. Sreelakshmi, S. Abhinaya, A. Nair, and S. J. Nirmala, "A question answering and quiz generation chatbot for education," in 2019 Grace Hopper Celebration India (GHCI), 2019: IEEE, pp. 1-6.

พิศิษฐ ตัณฑวณิช และ พนา จินดาศรี, "ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC," Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, vol. 24, no. 2, pp. 3-12, 2561.

"Math is Fun." https://www.mathsisfun.com/data/standard-deviation.html (accessed November,15, 2567).

Make.com. "Make – Platform for workflow automation." https://www.make.com/ (accessed August, 31, 2567).

M. Biehl, Webhooks–Events for RESTful APIs., API-University Press, 2017.

M. Khalil, B. Taraghi, and M. Ebner, "Engaging Learning Analytics in MOOCs: the good, the bad, and the ugly," arXiv preprint arXiv:1606.03776, 2016.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31