“การเว้นระยะห่างทางกายภาพ” ในกฎหมายโบราณอีสาน-ล้านนา: มาตรการทางกฎหมายที่สัมพันธ์กับผลประโยชน์ อำนาจ และการสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข

ผู้แต่ง

  • ภิรมย์พร ไชยยนต์ อาจารย์ประจําคณะนิติศาสตร์, คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 85 ถนนสถลมาร์ค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190, piromporn.c@ubu.ac.th
  • นิติลักษณ์ แก้วจันดี อาจารย์ประจําคณะนิติศาสตร์, คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 85 ถนนสถลมาร์ค ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190, nitilak.k@ubu.ac.th

คำสำคัญ:

ระยะห่างทางกายภาพ, กฎหมายโบราณ , วัตถุประสงค์ของกฎหมาย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีเป้าหมายหลัก 2 ประการ คือ เพื่อนำเสนอรูปแบบของมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพในกฎหมายโบราณอีสาน-ล้านนา และเพื่อค้นหาวัตถุประสงค์ที่อยู่เบื้องหลังการประกอบสร้างมาตรการดังกล่าวโดยวิเคราะห์ผ่านแนวคิดเรื่อง “วัตถุประสงค์ของกฎหมาย” ของรูดอล์ฟ ฟอน เยียริ่ง ผลการศึกษาพบรูปแบบมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพ 3 ลักษณะ ได้แก่ (1) มาตรการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล (2) มาตรการเว้นระยะห่างระหว่างทรัพย์สิน และ (3) มาตรการเว้นระยะห่างระหว่างการทำกิจกรรมบางประเภทกับบุคคลและสถานที่ โดยมาตรการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาผลประโยชน์และอำนาจของผู้ปกครอง รวมถึงเพื่อสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุขซึ่งเป็นค่านิยมหรืออุดมคติหลักของสังคมอีสาน-ล้านนาขณะนั้นแฝงอยู่เบื้องหลัง

References

จรัญ โฆษณานันท์. (2547). นิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชวนากร จันนาเวช. (2560). กดหมายโบราณจากเอกสารโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เอกสารวิชาการลำดับที่ 26 กลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนาธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์.

ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2523). วิวัฒนาการเศรษฐกิจหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2394-2475. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร).

ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2527). การผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเองในสังคมศักดินา : ศึกษาเฉพาะการผลิตระดับหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 1839-2475. ใน ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และสมภพ มานะรังสรรค์ (บรรณาธิการ). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยจนถึง พ.ศ. 2484. น.351-378. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิติลักษณ์ แก้วจันดี. (2561). การประกอบสร้างกฎหมายโบราณอีสาน พ.ศ. 2322-2433. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร).

นิติลักษณ์ แก้วจันดี, วัชรพล พุทธรักษา และราชันย์ นิลวรรณาภา. (2561). ผู้ชายในกฎหมายโบราณอีสาน: มองมุมใหม่ผ่านแนวคิดเชิงวิพากษ์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลันนเรศวร, 14 (1), 193-225.

เนื้อทอง ขรัวทองเขียว. (2553). รัฐสยามกับล้านนา พ.ศ. 2417-2476. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

บุญทา ศรีพิมพ์ชัย และศรีเลา เกษพรหม (ผู้ปริวรรต). (2558). ขึด : ข้อห้ามในล้านนา. อนุสรณ์พิธีพระราชทานเพลิงศพ(ปอยล้อ) พระครูพิธานพัฒนกิจ (หมั้ว กตปุญโญ) 12 ธันวาคม 2558. พิมพ์ครั้งที่ 4. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปทิตตา นันทสิทธิ์. (2552). โครงสร้างสังคมเมืองน่านจากกฎหมายหมายอาณาจักรหลักคำ. (การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).

ปรีชา พิณทอง. (2532). สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ. อุบลราขธานี: ศิริธรรม.

พระครูสังฆรักษ์วิวัฒน์. (2553). วิเคราะห์หลักพุทธจริยธรรมที่ปรากฏในคะลำอีสาน. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

พระอริยานุวัตร เขมจารีเถระ. (2513). พญาคำกอง (สอนไพร่). มหาสารคาม : ศูนย์อนุรักษ์วรรณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดมหาชัย จังหวัดมหาสารคาม.

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2534). อาณาจักรหลักคำ (กฎหมายเมืองน่าน) โครงการปริวรรตคัมภีร์ใบลานและพับสาจากอักษรธรรมล้านนาเป็นอักษรไทยกลาง. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุกิจ สัมฤทธิ์ผ่อง. Social Distancing ในกฎหมายไทย. สืบค้นวันที่ 22 มกราคม 2564, จาก https://www.krisdika.go.th/data/activity/act13738.pdf.

แอมอนิเย, เอเจียน. (2539). บันทึกการเดินทางในลาวภาคหนึ่ง พ.ศ. 2438. แปลโดย ทองสมุทร โดเร และสมหมาย เปรมจิตต์. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Jhering, Rudolf von. (1913). Law as a Means to an End. Translated by Isaac Husik. Boston: The Boston Book.

World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers, Retrieved January 22, 2021, from https://www.who.int/thailand/emergencies/novel-coronavirus-2019/q-a-on-covid-19.

Yasuda, Nobuyuki. (2003). Law and development from the Southeast Asian perspective: Methodology, history, and paradigm change. In Christoph Antons (Ed.). Law and Development in East and Southeast Asia, pp. 19-51. London and New York: Routledge Curzon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30