ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับผลตอบแทนของหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มบริการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าหลักทรัพย์และอัตราส่วนทางการเงิน 3 ดัชนี อันได้แก่ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนผลตอบแทนจากผู้ถือหุ้น และอันตราส่วนมูลค่าตลาดต่อกำไรต่อมูลค่าหลักทรัพย์ โดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิจากภาคธุรกิจภาคบริการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 87 บริษัท ในช่วงระหว่างไตรมาสหนึ่งปี พ.ศ. 2551- ไตรมาสสี่ปี พ.ศ. 2556
ทั้งนี้งานศึกษาในอดีตที่ผ่านมาส่วนมากแล้วใช้วิธีการศึกษาจากแบบจำลองสมการถดถอยย่างง่าย (Simple Linear Regression) ซึ่งแบบจำลองดังกล่าวมีข้อจำกัดทางด้านปัญหาทางเศรษฐมิติ บทความนี้จึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนางานศึกษาต่อเนื่อง โดยเลือกใช้แบบจำลองทางเศรษฐมิติที่เหมาะสมกับข้อมูลอนุกรมเวลา โดยมีการทดสอบ Unit Root Test การทดสอบความสัมพันธ์ในระยะสั้นโดยแบบจำลอง Error Correction Model การทดสอบความสัมพันธ์ในระยะยาวโดยแบบจำลอง Johansen Cointegration และการทดสอบความสัมพันธ์ไขว้กันโดยใช้แบบจำลอง Vector Autoregressive Model ซึ่งผลการศึกษาพบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินทั้ง 3 ดัชนีต่อมูลค่าหลักทรัพย์ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ไขว้กันระหว่างตัวแปร
Article Details
นโยบายการรับบทความ
กองบรรณาธิการวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีความยินดีรับบทความจากอาจารย์ นักศึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาบริหารธุรกิจและภาษา ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่นที่นำส่ง ดังนั้นผู้สนใจที่จะร่วมเผยแพร่ผลงานและความรู้ที่ศึกษามาสามารถนำส่งบทความได้ที่กองบรรณาธิการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกลั่นกรองบทความพิจารณาจัดพิมพ์ในวารสารต่อไป ทั้งนี้บทความที่สามารถเผยแพร่ได้ประกอบด้วยบทความวิจัย ผู้สนใจสามารถศึกษาและจัดเตรียมบทความจากคำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความ
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจาก กองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏภายในบทความของแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็น ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในสถาบัน แต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่
- กองบรรณาธิการ วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
- ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
เลขที่ 1771/1 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ซอยพัฒนาการ 37-39 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 ติดต่อกับคุณพิมพ์รต พิพัฒนกุล (02) 763-2752 , คุณอาริสา จิระเวชถาวร (02) 763-2600 Ext. 2704 Fax. (02) 763-2754 หรือ E-mail: JBAL@tni.ac.th
References
Campbell JY, Shiller RJ. Valuation Ratio and the Long-Run Stock Market Outlook, Journal of Portfolio Management. 1998; 24(2): 11-25.
Lo AW, MacKinlay C. The Size and Power of the Variance Ratio Tests in Finite Samples: A Monte Carlo Investigation. Journal of Econometrics. 1988; 40: 203-238.
Poterba J., Summer L. Mean Reversion in Stock Prices: Evidence and Implications. Journal of Financial Economics. 1988; 22: 27-59.
Basu S. The Information Content of Price-Earnings Ratios. Financial Management. 1975; 4(2): 53-64.
Lamont O. Earnings and Expected Returns. Journal of Financial 1988; 53: 1563-1587.
Fama EF, French K.R. Dividend Yields and Expected Stock Returns. Journal of Financial Economics. 1988; 22: 3-25.
Goetzmann W, Jorion P. Testing the Predictive Power of Dividend Yields. The Journal of Financ. 1993; 48(2): 663-679.
Hodrick RJ. Dividend Yields and Expected Stock Returns: Alternative Procedures for Inference and Measurement. The Review of Financial Studies. 1992; 5(3): 357-386.
Kothari SP, Shanken, J. Stock Return Variation and Expected Dividends, A Time-Series and Cross-Sectional Analysis.
Lerdcheeva S. Debt/Equity Ratio, Agency Cost and Expected Common Stock Returns: Empirical Evidence in Thailand. Thesis of Master of Science Program in Finance, Tha,,asat University. 2003.
Watanajural C. Higner-order Systematic Co-moments in Asset Pricing: Evidence from Thailand after the 1997 Economic Crisis. Thesis of of Master of Science Program in Finance, Thammasat University. 2006.
ศจี ศรีสัตตบุตร. ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับผลตอบแทนของหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตบัญชี (การบัญชี) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548.
หลานสวย ทรัพย์โภคา. Value-at-risk และผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับในการวิเคราะห์ภาคตัดชวาง : กรณีศึกษาในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตบัญชี(การบริหารการเงิน) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2554.
วริษฐา ชลานนท์นิวัฒน์. ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเติบโตของมูลค่าตามบัญชีและอัตราผลตอบแทนของหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตบัญชี(การบริหารการเงิน) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2555.
Gujarati DN. Basic Econometrics. New York: MaGraw Hill Book Co; 2003.
Johansen S, Juselius, K. Maximum Likelihood Estimation and Inference on Cointegration-with Applications to the Demand for Money. Oxford Bullentin of Economics and Statistics. 1990; 52(2): 169-210.
Osterwald-Lenum M. A Note with Quantiles of the Asymptotic Distribution of the Maximum Likelihood Cointegration Rank Test Statistics. Oxford Bulletin of Economics and Statistics. 1992; 54: 461-471.