ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับปรัชญาการศึกษา

Main Article Content

ณัชปภา โพธิ์พุ่ม
ทองพูล ขุมคำ

บทคัดย่อ

อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้น่าอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศ ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้อง หยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการ ฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และส่าเร็จภายใน ปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเอง จะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปทำงานในประเทศ อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนได้ อย่างเสรี เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานท่าของคนไทย ควรท่าความเข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน องค์ความรู้ "ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

สำนักงานพัฒนาการประชาสัมพันธ์ (๑๓ ส.ค. ๒๕๕๖) ร่วมเสวนา “ ประชาคมอาเซียน:หนึ่งจุดหมายหลายวัฒนธรรม เราจะอยู่ ร่วมกันอย่างไร?” ในโอกาสครอบรอบก่อตั้งอาเซียน ๔๖ ปี
กรมประชาสัมพันธ์สนับสนุนหน่วยงานของรัฐในการเสนอเผยแพร่ข่าวอาเซียนเพื่อเตรียมพร้อมเปิดประตูประชาคมอาเซียนในปี (๒๕๕๘).
แนวทางการส่งเสริมความพร้อมในการพัฒนาข้าราชการสู่ประชาคมอาเซียนในปี ( ๒๐ เม.ย. ๒๕๕๔ )
เสถียร โพธินันทะ.(๒๕๒๐).ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสน.กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.