วิเคราะห์บทบาทของผู้หญิงกับการเมืองในวรรณกรรมสามก๊ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อวิเคราะห์บทบาทของผู้หญิงกับการเมืองในวรรณกรรมนี้ใน 4 ประเด็น คือ 1) บทบาทของผู้หญิงที่ใฝ่หาอำนาจทางการเมือง 2) บทบาทของผู้หญิงที่ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง 3) บทบาทของผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อทางการเมือง 4) บทบาทของผู้หญิงที่ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและการเมือง ผลการศึกษาพบว่า ผู้หญิงที่เข้ามาเกี่ยวข้องในการเมืองทั้งสองคนมีลักษณะโดดเด่นในการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการเมืองในลักษณะแตกต่างกัน คือพระนางโฮเฮาเข้ามาทำการเมืองเพื่อใฝ่หาผลประโยชน์ทางการเมือง และนางเตียวเสี้ยนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองคือการทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและการเมืองซึ่งผู้หญิงทั้งสองคนจะสะท้อนภาพให้เห็นถึงสถานะที่ตกเป็นเบี้ยล่างของเพศชายภายใต้ความสัมพันธ์เชิงอำนาจอันเนื่องมาจากโครงสร้างแบบปิตาธิปไตย
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
Chaiyaporn, C. [n.p]. The Prince of Machiavelli with Samkok. Journal of Social science, 30(3), 162-184.
ไชยันต์ ไชยพร. [ม.ป.ป.]. บทนำเสนอเรื่องเจ้าของมาคิอาเวลลีกับสามก๊ก. วารสารสังคมศาสตร์, 30(3), 162-184.
Chantornvong, S. (2006). Reflection on Literature Politics and History. 3rd ed. Bangkok: kobfai. (in Thai).
สมบัติ จันทรวงศ์. (2549). บทวิจารณ์ว่าด้วยวรรณกรรมทางการเมืองและประวัติศาสตร์: ความหมายทางการเมืองของสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
Dilokwanich, M. [n.d]. Role of Women in samkok: Analysis of Literary Works. Retrieved July 22, 2017, from//https//www.tci-thaiju.org/index.php.easttu /article/view/51414. (in Thai).
มาลินี ดิลกวณิช. [ม.ป.ป.]. บทบาทของผู้หญิงในวรรณกรรมสามก๊ก: วิเคราะห์เชิงวรรณกรรม. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2560, จาก https//www.tci-thaiju.org/index.php.easttu /article/view/51414
Fromm. (1970). Faminism, Metaphovical and Peace. Retrieved September 18, 2017, from https://www.midnightuniv.org/miduniv2546/newpage5.htm. (in Thai).
Fromm. (1970). แนวคิดสตรีนิยม มาตาธิปไตย และสันติภาพ. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2560, จาก https://www.midnightuniv.org/miduniv2546/newpage5.htm.
Gerhard. (2001). Debating woman’s equality: toward a feminist theory of law from European perspective. Retrived September 18, 2017, from https://www.wikipedia.org.th
Grant, E. (1974), Woman, Culture and Society: A theoretical overview. Stanford: Standford University Press.
Lobell, S. E., Norrin M. R., & Taliaferro, J. W. (2009). Introduction in Neoclassical realism, the state, and foreign policy. Cambridge: Cambridge University Press.
Manomaiviboon, P. (1966). Samkok: Comparative Study. Master of Arts, Department of Thai Language, chulalongkhon University. (in Thai).
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2509). สามก๊ก: การศึกษาเปรียบเทียบ. วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Mark, R. (2014). Lesson Learned South Africa Role of political Woman. Retrieved July 6, 2017, from//https://www.thairath.co.th/content/408420. (in Thai).
รูบี มาร์คส์. (2557). ถอดบทเรียนแอฟริกาใต้ บทบาทผู้หญิงกับการเมือง. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.thairath.co.th/content/408420.
Noisri, C. (2000). Samkok: Legend of Politics. Master of Art, Department of Political Science, Ramkhamhaeng University. (in Thai).
เฉลิมศักดิ์ น้อยศรี, (2544). สามก๊ก: ตำนานการเมือง การปกครอง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Noisri, C. (2008). The role of women in Romance of the three kingdoms. Journal of Ramkhamhaeng, 2(11), 107-114.
เฉลิมศักดิ์ น้อยศรี. (2551). บทบาทของผู้หญิงในวรรณกรรมสามก๊ก. วารสารรามคำแหง, 2(11), 107-114.
Phathanothai, W. (2013). Romance of the Three Kingdoms. 8th ed. Bangkok: Sukhapapjai. (in Thai).
วรรณไว พัธโนทัย. (2556). สามก๊กฉบับแปลใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
Phurisinsit, W. (2002). Feminism: movement and ideology of the 20th century. Bangkok: kobfai. (in Thai).
วารุณี ภูริสินสิทธ์. (2545). สตรีนิยม: ขบวนการอุดมการณ์แห่งศตวรรษที่ 20, กรุงเทพมหานคร: คบไฟ.
Potinanta, S. (1996). Eastern Methodist. Bangkok: Tonaogrammy. (in Thai).
เสถียร โพธินันทะ.(2539). เมทีตะวันออก. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อแกรมมี่.
Sartraproong, K. (1998). Rajadhiraja Samkok and Saihan: world views of the Thai Elite. Bangkok: The Thailand Research Fund. (in Thai).
กรรณิการ์ ศาสตร์ปรุง. (2541). ราชาธิราช สามก๊ก ไซ่ฮั่น โลกทัศน์ชนชั้นนำ.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Sitiluk, S. (2003). Woman with Knowleadge. Bangkok: Thammasat University. (in Thai).
สินิทธ์ สิทธิรักษ์. (2546). ผู้หญิงกับความรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Sukhothaithammathirat. (2550). Guidelines for study role of man and woman. 2nd ed. Nonthaburi: Sukhothaithammathirat. (in Thai).
สุโขทัยธรรมาธิราช. (2550). แนวการศึกษาชุดวิชาการศึกษาบทบาทชายหญิง. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบรี: สุโขทัยธรรมาธิราช.
Suwanarat, P. (1998). Analysis behavior of characters in the three kingdoms along the ethics. Master of Education, Department of Thai Language, Srinakharinwirot University. (in Thai).
พรรัตน์ สุวรรณรัตน์. (2539). วิเคราะห์พฤติกรรมตัวละครในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กตามแนวจริยศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Taidparnich, P. (1998). The Political Thought of The Three Kingdoms in relation to Machiavelli’s The Prince. Master of Art in Government. Department of Government, Chulalongkorn University. (in Thai).
ไพรัตน์ เทศพานิช. (2541). ความคิดทางการเมืองในสามก๊กและเจ้าผู้ปกครอง. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Taylor, C., Brewitt, H. (1995). Romance of the three kingdoms. Retrieved August 22, 2017, from https://www.new3k.com.
Ubalee, C. (2015). The Strategic Paradigm Shift Interpreting the Three Kingdoms Text in the Thai Society. Doctor of Philosophy (Strategy and Security), Department of Strategy and Security, Burapa University. (in Thai).
ชูวงศ์ อุบาลี. (2558). การเปลี่ยนวิถีแห่งการตีความเชิงยุทธศาสตร์ของตัวบทสามก๊กในสังคมไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ยุทธศาสตร์และความมั่นคง) สาขาวิชายุทธศาสตร์และความมั่นคง มหาวิทยาลัยบูรพา.
Wongyanava, T. (1997). Love/ Knowledge/ Death: Sunset. Journal of Social science, 30(4), 3-5. (in Thai).
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2540). ความรัก/ ความรู้/ ความตาย: เมื่ออาทิตย์อัสดง. วารสารสังคมศาสตร์, 30(4), 3-5.
ไชยันต์ ไชยพร. [ม.ป.ป.]. บทนำเสนอเรื่องเจ้าของมาคิอาเวลลีกับสามก๊ก. วารสารสังคมศาสตร์, 30(3), 162-184.
Chantornvong, S. (2006). Reflection on Literature Politics and History. 3rd ed. Bangkok: kobfai. (in Thai).
สมบัติ จันทรวงศ์. (2549). บทวิจารณ์ว่าด้วยวรรณกรรมทางการเมืองและประวัติศาสตร์: ความหมายทางการเมืองของสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
Dilokwanich, M. [n.d]. Role of Women in samkok: Analysis of Literary Works. Retrieved July 22, 2017, from//https//www.tci-thaiju.org/index.php.easttu /article/view/51414. (in Thai).
มาลินี ดิลกวณิช. [ม.ป.ป.]. บทบาทของผู้หญิงในวรรณกรรมสามก๊ก: วิเคราะห์เชิงวรรณกรรม. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2560, จาก https//www.tci-thaiju.org/index.php.easttu /article/view/51414
Fromm. (1970). Faminism, Metaphovical and Peace. Retrieved September 18, 2017, from https://www.midnightuniv.org/miduniv2546/newpage5.htm. (in Thai).
Fromm. (1970). แนวคิดสตรีนิยม มาตาธิปไตย และสันติภาพ. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2560, จาก https://www.midnightuniv.org/miduniv2546/newpage5.htm.
Gerhard. (2001). Debating woman’s equality: toward a feminist theory of law from European perspective. Retrived September 18, 2017, from https://www.wikipedia.org.th
Grant, E. (1974), Woman, Culture and Society: A theoretical overview. Stanford: Standford University Press.
Lobell, S. E., Norrin M. R., & Taliaferro, J. W. (2009). Introduction in Neoclassical realism, the state, and foreign policy. Cambridge: Cambridge University Press.
Manomaiviboon, P. (1966). Samkok: Comparative Study. Master of Arts, Department of Thai Language, chulalongkhon University. (in Thai).
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. (2509). สามก๊ก: การศึกษาเปรียบเทียบ. วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Mark, R. (2014). Lesson Learned South Africa Role of political Woman. Retrieved July 6, 2017, from//https://www.thairath.co.th/content/408420. (in Thai).
รูบี มาร์คส์. (2557). ถอดบทเรียนแอฟริกาใต้ บทบาทผู้หญิงกับการเมือง. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.thairath.co.th/content/408420.
Noisri, C. (2000). Samkok: Legend of Politics. Master of Art, Department of Political Science, Ramkhamhaeng University. (in Thai).
เฉลิมศักดิ์ น้อยศรี, (2544). สามก๊ก: ตำนานการเมือง การปกครอง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Noisri, C. (2008). The role of women in Romance of the three kingdoms. Journal of Ramkhamhaeng, 2(11), 107-114.
เฉลิมศักดิ์ น้อยศรี. (2551). บทบาทของผู้หญิงในวรรณกรรมสามก๊ก. วารสารรามคำแหง, 2(11), 107-114.
Phathanothai, W. (2013). Romance of the Three Kingdoms. 8th ed. Bangkok: Sukhapapjai. (in Thai).
วรรณไว พัธโนทัย. (2556). สามก๊กฉบับแปลใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
Phurisinsit, W. (2002). Feminism: movement and ideology of the 20th century. Bangkok: kobfai. (in Thai).
วารุณี ภูริสินสิทธ์. (2545). สตรีนิยม: ขบวนการอุดมการณ์แห่งศตวรรษที่ 20, กรุงเทพมหานคร: คบไฟ.
Potinanta, S. (1996). Eastern Methodist. Bangkok: Tonaogrammy. (in Thai).
เสถียร โพธินันทะ.(2539). เมทีตะวันออก. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อแกรมมี่.
Sartraproong, K. (1998). Rajadhiraja Samkok and Saihan: world views of the Thai Elite. Bangkok: The Thailand Research Fund. (in Thai).
กรรณิการ์ ศาสตร์ปรุง. (2541). ราชาธิราช สามก๊ก ไซ่ฮั่น โลกทัศน์ชนชั้นนำ.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Sitiluk, S. (2003). Woman with Knowleadge. Bangkok: Thammasat University. (in Thai).
สินิทธ์ สิทธิรักษ์. (2546). ผู้หญิงกับความรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Sukhothaithammathirat. (2550). Guidelines for study role of man and woman. 2nd ed. Nonthaburi: Sukhothaithammathirat. (in Thai).
สุโขทัยธรรมาธิราช. (2550). แนวการศึกษาชุดวิชาการศึกษาบทบาทชายหญิง. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบรี: สุโขทัยธรรมาธิราช.
Suwanarat, P. (1998). Analysis behavior of characters in the three kingdoms along the ethics. Master of Education, Department of Thai Language, Srinakharinwirot University. (in Thai).
พรรัตน์ สุวรรณรัตน์. (2539). วิเคราะห์พฤติกรรมตัวละครในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กตามแนวจริยศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Taidparnich, P. (1998). The Political Thought of The Three Kingdoms in relation to Machiavelli’s The Prince. Master of Art in Government. Department of Government, Chulalongkorn University. (in Thai).
ไพรัตน์ เทศพานิช. (2541). ความคิดทางการเมืองในสามก๊กและเจ้าผู้ปกครอง. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Taylor, C., Brewitt, H. (1995). Romance of the three kingdoms. Retrieved August 22, 2017, from https://www.new3k.com.
Ubalee, C. (2015). The Strategic Paradigm Shift Interpreting the Three Kingdoms Text in the Thai Society. Doctor of Philosophy (Strategy and Security), Department of Strategy and Security, Burapa University. (in Thai).
ชูวงศ์ อุบาลี. (2558). การเปลี่ยนวิถีแห่งการตีความเชิงยุทธศาสตร์ของตัวบทสามก๊กในสังคมไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ยุทธศาสตร์และความมั่นคง) สาขาวิชายุทธศาสตร์และความมั่นคง มหาวิทยาลัยบูรพา.
Wongyanava, T. (1997). Love/ Knowledge/ Death: Sunset. Journal of Social science, 30(4), 3-5. (in Thai).
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2540). ความรัก/ ความรู้/ ความตาย: เมื่ออาทิตย์อัสดง. วารสารสังคมศาสตร์, 30(4), 3-5.