การสร้างตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ

Main Article Content

เมธาวี จำเนียร

บทคัดย่อ

          ผลิตภัณฑ์ชุมชนในประเทศไทยมีมากมายกระจายอยู่แทบทุกหมู่บ้าน ซึ่งต่างสะท้อนอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ได้เป็นอย่างดี การสื่อสารอัตลักษณ์ผ่านผลิตภัณฑ์ชุมชนภายใต้การสนับสนุนด้วยนโยบายของภาครัฐจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนมีแนวทางในการพัฒนาสินค้าชุมชนของตน อย่างไรก็ตาม การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนดังกล่าวจำเป็นต้องมีการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ เพื่อช่วยในการสื่อสารความเป็นอัตลักษณ์ ความเป็นตราสินค้า ตลอดจนความโดดเด่นของสินค้าในชุมชนสู่ผู้บริโภค เนื่องจากการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเป็นการใช้เนื้อหาสารเดียวกันผ่านเครื่องมือในการสื่อสารที่หลากหลาย เป็นลักษณะการสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อผลักดันให้การสื่อสารการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนนั้น ๆ ประสบความสำเร็จได้มากยิ่งขึ้น บทความชิ้นนี้จึงต้องการแสดงให้เห็นความสำคัญของการสร้างตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นอัตลักษณ์ชุมชนด้วยการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการโดยการยกกรณีศึกษาประกอบเพื่อให้เกิดความชัดเจน สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้จริง

Article Details

บท
บทความวิชาการและบทความปริทัศน์

References

สมิทธิ์ บุญชุติมา และ รุ่งโรจน์ รุ่งวิมลสิน. (2560). กลยุทธ์การสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.

Boonchutima, S., & Rungvimolsin, R. (2016). Creative Strategies for marketing communication. Bangkok: 21 Century. (in Thai).

อลิสรา รุ่งนนทรัตน์ ชรินทร์สาร. (2561). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ: ต่อให้ติดใกล้ชิดผู้บริโภค ในโลกไร้รอยต่อ. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์.

Charinsarn, A. R. (2018). Integrated marketing communications: connecting with consumers in the seamlesss world. Bangkok: Active Print. (in Thai).

กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม กระทรวงส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2562). กลยุทธ์การเขียน content ให้ปังไม่เสียตังค์ก็ดังได้. ณ จ.สุราษฎร์ธานี วันที่ 15 ตุลาคม 2562.

Division of Digital Industry development, Department of Industrial Promotion. (2018). Strategy of content writing to be popular without payment. Suratthani Province, October 15, 2018. (in Thai).

Finne, A., & Grönroos, C. (2017). Communication-in-use: customer-integrated marketing communication. European Journal of Marketing, 51(3), 445-463.

Mihaela, O. O. E. (2015). The influence of the integrated marketing communication on the consumer buying behaviour. Procedia Economics and Finance, 23, 1446-1450.

ฉันทนา ปาปัดถา และ ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2556). ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงเพื่อการศึกษาแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 8(1). 51-66.

Papattha, C., & Nilsul, P. (2013). CIO: Chief information officer for creative economic education. Journal of Business, Economics and Communications, 8(1). 51-66. (in Thai).

บุษราภรณ์ พวงปัญญา, สัญญา เคณาภูมิ และ ยุภาพร ยุภาศ. (2559). แนวทางการจัดการเพื่อยกระดับสินค้าทางวัฒนธรรม. วารสารใบลาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 1(1), 80-101.

Puangpanya, B., Kenaphoom, S., & Yupas, Y. (2016). Management approach for enhancing the cultural commodity. Bailan Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 1(1), 80-101. (in Thai).

Ratanakosol, K., Pathumcharoenwattana, W., & Kimpee, P. (2016). Learning process for creating community identity. Retrieved March 31, 2020, from https://www.shs-conferences.org/articles/shsconf/pdf/2016/04/ shsconf_ erpa2016_01067.pdf

กุณฑลี รื่นรมย์. (2560). แบรนด์องค์กร & การประเมินค่าแบรนด์องค์กร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป.

Ruenrom, K. (2017). Corporate brand & success valuation. 3rd ed. Bangkok: Cyber Print Group. (in Thai).

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2549). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991).

Samuejai, C. (2006). Marketing Management. Bangkok: V.Print (1991). (in Thai).

พัชรินทร์ สิรสุนทร. (2550). ชุมชนปฏิบัติการด้านการเรียนรู้: แนวคิด เทคนิค และกระบวนการ. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991).

Sirasuntorn, P. (2007). Community practice (COP): Concepts, techniques and process. Bangkok: V.Print (1991). (in Thai).

ณัฐกฤตา สุภาพันธ์. (2556). การสื่อสารวัฒนธรรมไทยผ่านละครโทรทัศน์และนวนิยายแนวย้อนยุค เรื่องรากนครา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2563, จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=53&RecId=12442&obj_ id=80714&showmenu=no

Suphaphan, N. (2013). Alternative: Thai cultural communication in the dramatization of the period novel Raknakkhara for television. Thesis Master of Arts in Mass Communication, Ramkhamhaeng Open University. Retrieved March 31, 2020, from http://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php? Int_code=53&RecId=12442&obj_id=80714&showmenu=no (in Thai).

ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์. (2557). การตลาดแบบองค์รวม. พิมพ์ครั้งที่ 2. สุราษฎร์ธานี: เค.ที.กราฟฟิค การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์.

Suwantip, N. (2014). Holistic marketing. 2nd ed. Surat Thani. K.T. Graphic Printing and Packaging. (in Thai).