การศึกษาระบบการท่องเที่ยวชุมชนบ้านน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

Main Article Content

อธิป จันทร์สุริย์
พีรวิชญ์ สิงฆาฬะ
ภานุพงศ์ อุบัวบล
ศราวุธ ตันติวัฒนสุทธิ
เฉลิมเกียรติ เฟื่องแก้ว

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์ระบบการท่องเที่ยวชุมชนบ้านน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ประกอบการ และชุมชน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ระบบการท่องเที่ยวชุมชนบ้านน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด ส่งผลให้นักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสถึงวิถีชีวิตดั้งเดิม ชุมชนสามารถทำการท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวของชุมชนยังคงอุดมสมบูรณ์และเป็นแหล่งระบบนิเวศที่สำคัญสำหรับวิถีชีวิตของชุมชน ด้วยวัฒนธรรมและความเชื่อที่หลากหลายส่งผลให้ชุมชน 2 ศาสนา 3 วัฒนธรรม 
เป็นศูนย์รวมของความเชื่อ ประเพณี โบราณสถาน และโบราณวัตถุอันทรงคุณค่า วิถีชีวิตที่มีความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนยกระดับชุมชนสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางด้านองค์ความรู้และภูมิปัญญา โดยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากภาครัฐและภาคเอกชนในการขับเคลื่อนด้วยดีเสมอมา 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุฑารัตน์ เจือจิ้น. (2555). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม บ้านน้ำเชี่ยว จังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Chuachin, C. (2012). Guidelines for Cultural Tourism Management at Ban Nam Chieo, Trat Province. Master Thesis of Arts Programs in Cultural Resource, Graduates School, Silpakorn University.

ธนวันต์ สิทธิไทย. (2557). กลยุทธ์การพัฒนาการตลาดบริการเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวไทย-มาเลเซียเพื่อสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันในการเปิดเสรีการค้าอาเซียน. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 8(2), 149-167.

Sittithai, T. (2014). The Service Marketing Strategy Development of Integrated Tourism in Thailand and Malaysia to Enhance the Competitive Capacity of the AEC. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkron Rajabhat University, 8(2), 149-167. (in Thai).

นิตติยา ทองเสนอ และ อุทิศ สังขรัตน์. (2558). การจัดการวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในตำบลเกาะหมากอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10(1). 187-206.

Tong-sanoer N., & Sungkharat, U. (2013). Culture local wisdom Management for Creative tourism: A cast study of Koh mark Sub-District, Pakpayoon District, Patalung Province. Journal of Humanities and Social Sciences, Thaksin University, 10(1), 187-206. (in Thai).

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และคณะ. (2556). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).

Wisudthiluck, S. et al. (2013). Creative Tourism. Bangkok: Designated Areas for Sustainable Tourism.

รุ่งทิวา ท่าน้ำ และ อธิป จันทร์สุริย์. (2563). แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีถิ่นบนฐานแนว คิด การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม สำนัก ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 19(2), 89-110.

Thanam, R., and Jansuri, A. (2020). Guideline for the Promoting Rural Tourism Based on Creative Tourism of Umphang District, Tak Province. Tetas Wattanatam Journal, Office of Art and Culture, Bansomdej chaopraya Rajabhat University, 19(2), 89-110. (in Thai).

ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดร, อชัญญา บัวธรรม และ ชัชชญา ยอดสุวรรณ. (2559). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(1), 234-259.

Pongnirundorn, S., Buatham O., & Yodsuwan, C. (2016). Guidelines for Effective Development in Tourism Management of Wang Nam Khiao District, Nakhon Ratchasima Province. Journal of SCGSM, Khon Kaen University, 9(1), 234-259. (in Thai).

อธิป จันทร์สุริย์ และ ฐิติวัจน์ ทองแก้ว. (2559). การจัดการแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่ศึกษาดูเหยี่ยวอพยพ เขาดินสอ จังหวัดชุมพร การศึกษาเรื่องเล่าจากแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 SMART มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. หน้า 1144-1157.

Jansuri, A., & Tongkaew, T. (2016). Tourist Attraction Management in the Learning Area of Immigration Hawk at Khao Din Sor, Chumphon Province the Narrative Approach from Education Attraction. The 6th SMART National Conference, Kasetsart University Sriracha Campus, pp. 1144-1157.

Hudman, L.E., and Hawkins, D. E. (1989). Tourism in Contemporary Society. New Jersey: Prentice Hall.

Madhyamapurush, W. (2019). Structure of Tourism System. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 14(1), 94-102.

Mill, R. C. & Morrison, A. M. (2002). The Tourism System: An Introductory Text, Upper Saddle River. London: Kendall Hunt Publishing.